โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 18 มกราคม 2554
หมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค หมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ทำไมทำ พฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม การบริโภคอาหารไม่สมดุล ออกกำลังกาย น้อย เครียด มหันตภัยเงียบ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ มะเร็ง
สถานการณ์ 2547 ( ร้อยละ ) 2552 อ้วน 1) ดัชนีมวลกาย > 25 รอบเอวเกินเกณฑ์ ผู้หญิง ผู้ชาย 34.4 26.5 36.1 15.4 40.7 28.4 45.0 18.6 2. โคเลสตอรอลในเลือดสูง > 250 มก/ลิตร1) 13.7 19.1 3. ความดันโลหิตสูง1) 23.0 21.4 4. เบาหวาน1) 6.4 6.9
การบริโภค 2) คำแนะนำ (ช้อนชา / วัน) ปัจจุบัน 6 20 12 1 2 5. การบริโภค 5.1 น้ำตาล 6 20 5.2 ไขมัน 12 5.3 เกลือ 1 2 1) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 2) สำนักโภชนาการ กรมอนามัย
กรมอนามัย ทำอะไรไปแล้ว ขนมอาหารลด น้ำตาล ไขมัน โซเดียม 25 % โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ขนมไทยเพื่อสุขภาพ ลด หวาน มัน เค็ม อาหารว่างเพื่อสุขภาพ (Healthy Meeting) เมนูชูสุภาพและเมนูไร้พุง เมนูสื่อสารประชาสัมพันธ์ อาหารลด หวาน มัน เค็ม
กรอบแนวคิด หมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค เติมเต็มออกกำลังกาย 11. นวัตกรรม กิจกรรมเด่น 10. ทีมงาน แก่นนำเยี่ยมบ้าน 4. แผนสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล 2, 3 สภาพแวดล้อมเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ, การสื่อสารสาธารณะ หมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค 1.นโยบายและการดำเนินงาน - เมนูชูสุขภาพ/ เมนู 2 : 1 : 1 - อาหารว่าง เพื่อสุขภาพ - DPAC - โรงเรียนปลอด น้ำอัดลม - องค์กรไร้พุง 5.สร้างเครือข่ายแกนนำ - อสม. - ชมรมสร้าง สุขภาพ - สภาเยาวชน - เด็กไทยทำได้ - To be # 1 ฯ ล ฯ 6, 7, 8 สำรวจ - พฤติกรรม - ภาวะโภชนาการ - การใช้น้ำตาล น้ำมัน เกลือ 9. กิจกรรม ออกกำลังกาย
ทำอะไร กระบวนการพัฒนา หมู่บ้าน/ชุมชน รพศ./รพท./ รพช./ รพ.สต. โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก ร้าน อาหาร 1. มีนโยบายและการดำเนินงาน 2. สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมพฤติกรรม สุขภาพ 3. การสื่อสารและสร้างกระแสสังคม 4. แผนสุขภาพตำบล / การสนับสนุน - 5. สร้างเครือข่าย แกนนำ 6. สำรวจพฤติกรรมบริโภค / ออกกำลังกาย 7. ประเมินภาวะโภชนาการ วัดรอบเอว ชั่งน้ำหนัก 8. สำรวจปริมาณการใช้น้ำตาล น้ำมัน เกลือ น้ำปลา ซอสปรุงรส 9. กิจกรรมออกกำลังภายในหน่วยงานและในชุมชน 10. ทีมงาน / แกนนำ ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง 11. นวัตกรรมและกิจกรรมเด่น
เป้าหมาย หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค สถานที่ ผลผลิต ผลลัพธ์ 1. หมู่บ้าน / ชุมชนทุกแห่ง มีกระบวนการพัฒนาเป็นหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ระดับดีขึ้นไป - มาตรการสังคม - เมนูสุขภาพ เมนูไร้พุง 211 2. รพศ. / รพท. ทุกแห่ง รพช. จังหวัดละ 1 แห่ง รพ.สต. ร้อยละ 10* มีกระบวนการพัฒนาเป็นโรงพยาบาล ลดหวาน มันเค็ม ลดอ้วน ลดโรค ระดับดีขึ้นไป - เมนูสุขภาพ - เมนูไร้พุง - คลินิก DPAC 3. โรงเรียนระดับประถมศึกษา 28,000 แห่ง มีกระบวนการพัฒนาเป็นโรงเรียน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ระดับดีขึ้นไป - โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม 4. ศูนย์เด็กเล็กระดับดีมาก 5,146 แห่ง มีกระบวนการพัฒนาเป็นศูนย์ เด็กเล็ก ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ระดับดีขึ้นไป - ศูนย์เด็กเล็กปลอดน้ำอัดลม 5. ร้านอาหาร - เมนูชูสุขภาพ 12,445 ร้าน มีกระบวนการพัฒนาเป็นร้านอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ระดับดีขึ้นไป - เมนูชูสุขภาพ 6. องค์กรไร้พุง จำนวน 200 แห่ง พัฒนาตามเกณฑ์องค์กรไร้พุง - ผ่านเกณฑ์องค์กรไร้พุง 8
มาตรการ 1. สร้างกระแสสังคม สื่อสาธารณะ 2. ลด หวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ในกลุ่มกิจการดังนี้ 2.1 หมู่บ้าน / ชุมชน - มาตรการสังคม - เมนูชูสุขภาพ - เมนูไร้พุง 211
มาตรการ 2.2 รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. - เมนูชูสุขภาพ เมนูไร้พุง 211 อาหารว่างเพื่อสุขภาพ - DPAC : ส่งเสริม ป้องกัน คัดกรอง ให้คำปรึกษา ดูแลรักษา และส่งต่อ - กิจกรรมออกกำลังกาย ในโรงพยาบาล และในชุมชน
มาตรการ 2.3 โรงเรียน - เมนูชูสุขภาพ โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ขนม 25% ลดน้ำตาล ไขมัน โซเดียม - กิจกรรมออกกำลังกายในโรงเรียน
มาตรการ 2.4 ศูนย์เด็กเล็ก - เมนูชูสุขภาพ ศูนย์เด็กเล็กปลอดน้ำอัดลม ขนม 25% ลดน้ำตาล ไขมัน โซเดียม - กิจกรรมออกกำลังกายภาย ในศูนย์เด็กเล็ก
มาตรการ 3. แผนสุขภาพตำบล ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรคเรื้อรัง 3. แผนสุขภาพตำบล ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรคเรื้อรัง 4. เครือข่าย แกนนำ จังหวัด ลด หวาน มัน เค็ม ลดโรคเรื้อรัง 5. องค์กรไร้พุง จังหวัดไร้พุง 6. กระบวนการพัฒนา
ทำอะไร กระบวนการพัฒนา หมู่บ้าน/ชุมชน รพศ./รพท./ รพช./ รพ.สต. โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก ร้าน อาหาร 1. มีนโยบายและการดำเนินงาน 2. สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมพฤติกรรม สุขภาพ 3. การสื่อสารและสร้างกระแสสังคม 4. แผนสุขภาพตำบล / การสนับสนุน - 5. สร้างเครือข่าย แกนนำ 6. สำรวจพฤติกรรมบริโภค / ออกกำลังกาย 7. ประเมินภาวะโภชนาการ วัดรอบเอว ชั่งน้ำหนัก 8. สำรวจปริมาณการใช้น้ำตาล น้ำมัน เกลือ น้ำปลา ซอสปรุงรส 9. กิจกรรมออกกำลังภายในหน่วยงานและในชุมชน 10. ทีมงาน / แกนนำ ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง 11. นวัตกรรมและกิจกรรมเด่น
มาตรการ 7. การบริหารจัดการข้อมูลในองค์กร 8. องค์กรประเมินตนเอง และปรับปรุง พัฒนาต่อเนื่อง 9. กรมอนามัย และศูนย์อนามัยที่ 1 - 12 9.1 สร้างกระแสสังคม 9.2 ติดตาม ประเมินผล 9.3 ประกาศเกียรติคุณองค์กรดีเด่น ระดับเขต ประเทศ
ทำอย่างไร 1. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดย รพศ. / รพท. / รพช. / รพ.สต. ดำเนินงานหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ร่วมกับท้องถิ่น โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก ร้านอาหาร
ทำอย่างไร 2. กรมอนามัย และศูนย์อนามัยที่ 1 - 12 จัดทำแนวทางและเกณฑ์การประเมิน - หมู่บ้าน/ชุมชน - รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. - โรงเรียน - ศูนย์เด็กเล็ก - ร้านอาหาร - องค์กรไร้พุง
ทำอย่างไร 3. แต่ละหน่วยงาน ดำเนินงานตามแนวทาง ของกรมอนามัย 3. แต่ละหน่วยงาน ดำเนินงานตามแนวทาง ของกรมอนามัย 4. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รวบรวมข้อมูล การดำเนินงานตามแบบกำกับ ติดตาม ประเมินผล 4 ระดับ ได้แก่ - ดีมาก - ดี - พอใจ - พัฒนาได้ รวบรวมส่งข้อมูลให้สำนักโภชนาการ เพื่อนำเสนอความก้าวหน้าให้คณะกรรมการ บริหารกระทรวง