การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
การปลูกพืชกลับหัว.
วิธีเพาะเมล็ดไผ่ (สามารถใช้กับไผ่ได้ทุกชนิด)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิเชียร อารยะสมสกุล
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
การส่งเสริมลดต้นทุนการผลิตข้าว อำเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
1.ด.ญ.ธนากร อยู่คง 3.ด.ช.วธัญญู อู่นาท 4.ด.ญ.วราภรณ์ เมืองแก้ว
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
การผลิตข้าวฮาง บ้านนาแก หมู่ที่ 7 ตำบลนาแก อำเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำภู การแช่ข้าวเปลือก นำเมล็ดข้าวเปลือกมาล้างทำความสะอาดเพื่อเอาสิ่งเจือปนออก แช่เมล็ดข้าวเปลือกในน้ำนาน.
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายบุญสวย เชื้อสะอาด
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง บ้านเลขที่ 52 หมู่ที่ 6 ตำบลวังหว้า อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี โทร. 08 - 7025 - 1240

วิธีการคัดพันธุ์ข้าว 1. เลือกรวงข้าวที่มีเมล็ดมากสมบูรณ์สุกเต็มที่ 2. นำมาเก็บให้พ้นระยะฝักตัว 3. นำมาแกะให้ได้ข้าวกล้องโดยไม่ให้เยื่อเจริญ หรือจมูกข้าวหลุด 4. เมื่อแกะได้เมล็ดข้าวกล้องแล้ว ใช้แว่นขยาย ส่องดู เพื่อคัดเมล็ดที่ไม่สมบูรณ์และไม่ตรง ตามพันธุ์ออก

5. นำเมล็ดข้าวกล้องที่คัดเลือกไว้ไปเพาะใน กระถางที่มีถาดรองก้นหล่อน้ำ เพื่อป้องกันมด หรือแมลงรบกวนเมล็ดพันธุ์ 6. นำขี้เถ้าแกลบดำใส่กระถางที่เตรียมไว้สูงประมาณ 1 นิ้ว แล้วนำเมล็ดข้าวที่เตรียมไว้โรยบนขี้เถ้า แล้วนำขี้เถ้าแกลบดำกลบบน เมล็ดหนาประมาณ 1 เซนติเมตร 7. พันธุ์ข้าวที่เพาะได้ในกระถางประมาณ 18-20 วัน จะเป็นต้นกล้านำไปปักดำเป็นรูปตัว L จับละ 1 ต้น ระยะห่าง 25 - 30 เซนติเมตร

8. การดูแลแปลงพันธุ์ - มีพันธุ์ปนให้กำจัดออก - ตรวจดูแปลงนาว่ามีโรคแมลงที่รบกวน แปลงพันธุ์หรือไม่ 9. ข้าวที่เก็บเกี่ยวต้องสุกและแก่เต็มที่ ข้าวที่ได้ จะเป็นข้าวเต็มเมล็ดและสมบูรณ์ เหมาะสำหรับ เป็นเมล็ดพันธุ์ข้าวนำไปปลูกในแปลงนาต่อไป 10. ข้าวที่เก็บเกี่ยวแล้ว นำมาตากแดดให้ได้ความชื้น 10% กว่า ๆ ฝัดเอาเมล็ดข้าวลีบออกนำไปเก็บไว้ ในกระสอบป่าน ก่อนนำไปปลูกข้าวต้องพ้นระยะ พักตัว

** น้ำหมักชีวภาพ/น้ำหมักอินทรีย์ ** Knowledge Management ** น้ำหมักชีวภาพ/น้ำหมักอินทรีย์ ** โดย พระครูโสภณ สิทธิการ เจ้าอาวาสวัดพยัคฆาราม เจ้าคณะตำบลศรีประจันต์

องค์ประกอบ อัตราส่วน 1. ปลาน้ำจืด / ปลาทะเล / หอยเชอร์รี่ 2. กากน้ำตาล 3. หัวเชื้อจุลินทรีย์ 4. ภาชนะพลาสติกปิดฝาได้ 1 ใบ 5. น้ำสะอาด 6. กระสอบที่ระบายน้ำได้ 1 ลูก อัตราส่วน ปลา : กากน้ำตาล 1 : 1 โดยน้ำหนัก หัวเชื้อจุลินทรีย์ 500 - 1,000 ซีซี

วิธีทำน้ำหมักชีวภาพหรือน้ำหมักอินทรีย์ 1. นำน้ำสะอาด กากน้ำตาลและหัวเชื้อจุลินทรีย์ที่เตรียมไว้ใส่ลงใน ถังพลาสติกและคนให้เข้ากัน 2. นำกระสอบที่ระบายน้ำได้ใส่ลงถังหมัก 3. นำปลาน้ำจืด / ปลาทะเล / หอยเชอร์รี่ ใส่กระสอบ กดกระสอบให้จมน้ำ แล้วปิดฝาให้สนิททิ้งไว้ในที่ร่ม หมายเหตุ * ถ้าใส่หัวเชื้อจุลินทรีย์ 12 - 15 วัน สามารถนำมาใช้ได้ * ถ้าไม่ใส่หัวเชื้อจุลินทรีย์ 1 - 2 เดือน สามารถนำไปใช้ได้

สรรพคุณ อัตราการใช้ ลดต้นทุน 1. เป็นอาหารเสริมหรือปุ๋ยช่วยเร่งความเจริญเติบโตของพืช 2. บำรุงดอก ผล และใบให้พืชสมบูรณ์ อัตราการใช้ 1. ข้าว 20 ซีซี / น้ำ 20 ลิตร 2. ไม้ผล 2 ช้อนแกง / น้ำ 5 ลิตร ลดโคนต้น 3. แห้วจีน (สมหวัง) 30 - 40 ซีซี / น้ำ 20 ลิตร *หมายเหตุ ฉีดพ่นทุก ๆ 7 - 15 วัน ลดต้นทุน ข้าว สามารถลดต้นทุนจากการใช้ปุ๋ยเคมีได้ไร่ละ 20 - 50 กิโลกรัม ไม้ผล สามารถลดต้นทุนจากการใช้ปุ๋ยเคมีได้ไร่ละ 50 - 100 กิโลกรัม แห้วจีน (สมหวัง) สามารถลดต้นทุนจากการใช้ปุ๋ยเคมีได้ไร่ละ 100 - 150 ก.ก.

เกษตรกรผู้นำไปใช้ 1. นายสมาน แสงวันทอง 2. นายพยุง แก้วศรีงาม 1. นายสมาน แสงวันทอง 2. นายพยุง แก้วศรีงาม 3. นายสมควร สังข์สุวรรณ 4. นายมนตรี เสร็จกิจ 5. นายบุญลือ ศรีวิเชียร 6. นายมาก ดอกพุฒิ 7. นางมณี หวานชะเอม 8. นายบำรุง หรุ่มเรืองวงษ์ 9. นายชาลี แจ้งประจักษ์ 10. นายอุดม หนูเทศ 11. นายสงบ ลาภปัญญา 12. นายประกอบ ตาลยงค์

สวัสดี