การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชุมคณะกรรมการตรวจรับงานฯ คณะที่ปรึกษาโครงการ AM/FM/GIS
Advertisements

รายงานการระบาดศัตรูพืช
ความรุนแรงในครอบครัว
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 1 (Geographic Information System I)
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ดาวเทียม "ธีออส" (THEOS) ดาวเทียมดวงใหม่บนโลกสำรวจ ของประเทศไทยดวงแรก
(Global Positioning System)
การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
What Is GIS? GIS เป็นคำย่อจาก Geographic Information System
ข้อมูล & สารสนเทศ ข้อมูล ( Data) - ข้อเท็จจริงที่ได้จากการ สังเกตุ หรือสำรวจความเป็นไปของเหตุการณ์ ของโลกเพื่อให้เกิดความเข้าใจในเหตุการณ์ นั้น สารสนเทศ.
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศูนย์บริหารโครงการเงินกู้ เพื่อวางระบบบริหาร จัดการน้ำและสร้างอนาคต ประเทศ ตามคำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่ 879/2555 ตามคำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
สำนักจัดการปฏิรูปที่ดิน
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
Geographic Information System
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ภารกิจถ่ายโอน บริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการ ผลิต การตลาด เทคโนโลยี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
เทคโนโลยีสารสนเทศ ชุมชน (Community Information Technology) GSPM เทคโนโลยีสารสนเทศ ชุมชน (Community Information Technology)
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวม ๒๐๕ คน
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การหาพิกัดภูมิศาสตร์ โครงการส่งเสริมและลดต้นทุนการผลิตข้าว
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
ร่างรายงานขั้นสุดท้าย (Draft Final Report)
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เลขาธิการ ส.ป.ก. 1,995
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 รหัสวิชา ง 31101
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
กรมทางหลวงชนบท ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศ ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศ กรมทางหลวงชนบท “ การใช้รูปแบบมาตรฐานเพื่อระบุค่าพิกัด GPS”
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
ครูธีระพล เข่งวา ข้อมูลของระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ประเภทใดไม่ใช่พื้นที่ที่ นิยมใช้กันมากคืออะไร ก. ตาราง ข. ข่าวสาร ค. รูปกราฟ ง. คำอธิบาย.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
การใช้โปรแกรม Arc View 3.1
หนึ่งในพันธกิจของคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มอ. ภูเก็ต คือ
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ระบบภูมิสารสนเทศสำหรับงานติดตาม ตรวจสอบด้านทรัพยากรป่าไม้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถาวร อ่อนประไพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช

ประเด็น ความหมายและองค์ประกอบของภูมิสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศกับการบริหารจัดการศัตรูพืช

ความหมายและองค์ประกอบของภูมิสารสนเทศ

ภูมิสารสนเทศ ภูมิสารสนเทศ (Geo-informatics) RS - การสำรวจข้อมูลระยะไกล GPS - การสำรวจเพื่อหาตำแหน่งบนพื้นโลกจากดาวเทียม GIS - ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

ภูมิสารสนเทศ เทคโนโลยี 3S RS : Remote Sensing - การสำรวจข้อมูลระยะไกล  ภาพถ่ายดาวเทียม (ดาวเทียม)  ภาพถ่ายทางอากาศ (เครื่องบิน)

ภูมิสารสนเทศ เทคโนโลยี 3S GPS : Global Position System – การสำรวจเพื่อหาตำแหน่งบนพื้นโลกจากดาวเทียม  ค่าพิกัด  พื้นที่/เส้น/จุดตำแหน่ง 001

ภูมิสารสนเทศ เทคโนโลยี 3S GIS : Geographic Information System ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์  แผนที่เฉพาะเรื่อง

ภูมิสารสนเทศ ลักษณะข้อมูลภูมิสารสนเทศ Spatial data Attribute data นาย ก นาย ข นาย ค

ติดตามสถานการณ์การระบาดศัตรูพืช การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศกับการบริหารจัดการศัตรูพืช ติดตามสถานการณ์การระบาดศัตรูพืช ประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืช ประเมินประสิทธิภาพการควบคุมศัตรูพืช

ติดตามสถานการณ์การระบาดศัตรูพืช เก็บข้อมูลเชิงตำแหน่ง (Spatial data) 1. ตำแหน่งศูนย์บริหารศัตรูพืช/สถานที่ต่าง ๆ ID ว/ด/ป ค่า X ค่า Y สถานที่ 1 ศูนย์บริหารศัตรูพืชชุมชน 1 2 ศูนย์บริหารศัตรูพืชชุมชน 2 3 สนง.เกษตรอำเภอ

ศูนย์บริหารศัตรูพืชชุมชน 2 10 กม. ศูนย์บริหารศัตรูพืชชุมชน 1 7 กม. ศูนย์บริหารศัตรูพืชชุมชน 2 ติดตามสถานการณ์การระบาดศัตรูพืช

2. ตำแหน่งแปลงติดตามสถานการณ์ (ในพื้นที่รับผิดชอบ) ID ว/ด/ป ค่า X ค่า Y สถานที่ 1 แปลงที่ 1 2 แปลงที่ 2 3 แปลงที่ 3 ติดตามสถานการณ์การระบาดศัตรูพืช

ศูนย์บริหารศัตรูพืชชุมชน 1 แปลงที่ 2 แปลงที่ 1 แปลงที่ 2 ศูนย์บริหารศัตรูพืชชุมชน 1 แปลงที่ 3 แปลงที่ 1 ศูนย์บริหารศัตรูพืชชุมชน 1 แปลงที่ 1 ติดตามสถานการณ์การระบาดศัตรูพืช

3. เก็บข้อมูลการระบาดศัตรูพืชในแปลงติดตามสถานการณ์ทุกสัปดาห์ แปลงที่ 1 ศูนย์บริหารศัตรูพืชชุมชน 1 แปลงที่ 1 ติดตามสถานการณ์การระบาดศัตรูพืช

ประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืช

ขั้นตอนการการประเมินพื้นที่ระบาด 1. หาพื้นที่ปลูกพืช มันสำปะหลัง 30 ไร่ รต. 2. สุ่มหาพื้นที่เพื่อประเมินพื้นที่การระบาดและความรุนแรง 3. ประมวลผลข้อมูลการระบาดและความรุนแรง ประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืช

ระดับความรุนแรง จุดที่ ค่า X ค่า Y 1 2 3 4 5 ... 15

ประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืช อ อ ตำบล ก

ประเมินประสิทธิภาพการควบคุมศัตรูพืช ควบคุมศัตรูพืชธรรมชาติ - แตนเบียน แมลงปีกใส เป็นต้น - ฉีดจุลินทรีย์ การนำเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่

สวัสดี