การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ และพัฒนาองค์กร
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
การบริหารกลุ่มและทีม
ระบบการบริหารการตลาด
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
กระบวนการวางแผน (Planning Process)
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
สถาบันวิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
บทที่ 1 แนวคิดการตรวจสอบภายในสมัยใหม่
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
ภาพแสดงกรอบการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
บทที่ 3 Planning.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
บทที่ 4 การวางแผนการตลาดและแผนการขาย
ลักษณะของระบบบัญชี.
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน บทที่ 9 การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน

ความหมายของการตรวจสอบและการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน กิจกรรมการประเมินค่าที่เป็นอิสระภายในองค์กร จัดทำขึ้นเพื่อให้บริการแก่ฝ่ายบริหาร โดยการทบทวน ตรวจสอบและการประเมินผลการปฏิบัติงานด้านต่างๆการตรวจสอบภายในจึงเป็นระบบการควบคุมการบริหารระบบหนึ่ง การควบคุมภายใน แผนจัดแบ่งส่วนงาน วิธีปฏิบัติงานที่ประสานกันและมาตรการต่างๆที่ถือปฏิบัติงานที่ประสานกัน และมาตรการต่างๆที่ถือปฏิบัติในกิจการเพื่อดูแลรักษาทรัพย์สิน,ตรวจสอบความถูกต้องและเชื่อถือได้ของข้อมูลทางการบัญชี

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน นโยบายองค์กรและทัศนคติของฝ่ายบริหาร จริยธรรมและปรัชญาในการตรวจสอบภายใน ความเข้าใจในหลักการควบคุมภายใน

วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบภายใน 1..เพื่อตรวจสอบและประเมินความเหมาะสมของมาตรการการควบคุมบัญชี/การเงิน 2..เพื่อตรวจสอบว่าได้มีการปฏิบัติตามนโยบาย แผนการที่องค์กรวางไว้ 3..เพื่อตรวจสอบว่าได้มีการบันทึกและการควบคุมรักษาทรัพย์สินอย่างเพียงพอ 4..เพื่อตรวจสอบความน่าเชื่อถือเกี่ยวกับการบัญชี การเงิน 5..เพื่อประเมินผลการประเมินผลการปฏิบัติงานในด้านต่างๆ ว่าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 6..เพื่อเสนอแนะวิธีการจัดการ การบริหาร หรือกำหนดมาตรการในการปรับปรุงการปฏิบัติงานในหน่วยงานต่างๆให้มีประสิทธิภาพสูงมากขึ้น

ปัจจัยสำคัญที่มีผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพในการควบคุมภายใน โครงสร้างขององค์กร การควบคุมดูแลของฝ่ายบริหาร บุคลากร 5

วิวัฒนาการของการตรวจสอบภายใน ยุคแรก ทำงานคนเดียวเน้นตรวจสอบผู้บริหารระดับกลางและพนักงานระดับล่าง ยุคกลาง ทำงานเป็นทีม มีหัวหน้าทีม เน้นตรวจสอบระบบงาน ยุคปัจจุบัน เน้นการควบคุมพฤติกรรมบุคคลเพื่อจูงใจให้เกิดความกระตือรือร้นในการทำงาน

ประเภทของการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบทางการบริหาร (Management Auditing) การตรวจสอบทางการปฏิบัติการ (Operational Auditing) การตรวจสอบทางการเงิน (Financial Auditing)

มาตรฐานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน ถือกำเนิดขึ้นในปี ค.ศ.1971 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อประสานความด้านวิชาการแก่สมาชิกในด้านความรู้ทางการเงิน การบัญชี และการตรวจสอบภายในและในปี ค.ศ.1974 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพการตรวจสอบภายในได้จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานของวิชาชีพตรวจสอบภายใน(The Standards for the Professional Practice of Internal Auditing )ขึ้นซึ่งถือเป็นมาตรฐานที่ใช้ในองค์กรธุรกิจและองค์กรของรัฐ

การทดสอบการปฏิบัติตามระบบ การทดสอบรายการทางบัญชี 1.การทดสอบรายละเอียดของรายการบัญชีและยอดคงเหลือ 2.การวิเคราะห์อัตราส่วนและแนวโน้มที่สำคัญ 3.การสอบสวนรายการที่ผิดปกติหรือที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างผิดปกติ

อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบภายใน 1.ตรวจสอบทรัพย์สินที่มีอยู่ให้ได้รับการดูแลอย่างปลอดภัย 2.ตรวจสอบการควบคุมด้านการบริหารและด้านการบัญชีอย่างเพียงพอ 3.ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน นโยบาย และระเบียบปฏิบัติที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.ตรวจสอบระบบการทำงานและการประมวลข้อมูลโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้อยู่และที่เสนอให้ใช้มีอย่างเพียงพอ 5.เนอแนะเพื่อการปรับปรุงการควบคุมด้านต่างๆอย่างเหมาะสม 6.เสนอข้อเท็จจริงจากการตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้บริหาร 7.ประสานงานการตรวจสอบภายในกับกิจกรรมอื่นๆขององค์กรเพื่อให้สามารถบรรลุทั้งเป้าหมายของการตรวจสอบภายในและเป้าหมายขององค์กร

ความสัมพันธ์ของผู้ตรวจสอบภายใน ความสัมพันธ์ต่อกิจกรรมอื่นๆขององค์กร งานตรวจสอบภายในต้องแยกออกจากงานปกติและผู้ตรวจสอบภายคือผู้ให้คำปรึกษาจึงไม่สมควรที่จะไปยุ่งเกี่ยวกับหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคคลอื่นๆ ความสัมพันธ์กับผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ความสัมพันธ์ของผู้ตรวจสอบภายในกับผู้สอบบัญชีอาจจะมีบ้างแต่ไม่มากเพราะวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบมีความแตกต่างกัน

การตรวจสอบภายในและการควบคุมภายในที่ดีและให้มีประสิทธิภาพนั้นขึ้นอยู่กับความสามารถและนโยบายของผู้บริหารและบุคคลากรที่ร่วมมือกัน