การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2557 “ประเด็นที่แตกต่างจากปีงบประมาณ 2556” โดย นพ.สุธนะ เสตวรรณา รองผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
กรกฎาคม 2556 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
รายงานสถานภาพงบประมาณ
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
หลักในการทำงานของ ปลัดกระทรวง สาธารณสุข นายแพทย์ณรงค์ สห เมธาพัฒน์
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
ผลงานการพัฒนาระบบข้อมูล บริการผู้ป่วยนอก และสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรค OP/PP Individual Data ปี 2556.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
สำนักวิเคราะห์งบประมาณส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2557 “ประเด็นที่แตกต่างจากปีงบประมาณ 2556” โดย นพ.สุธนะ เสตวรรณา รองผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 4 สระบุรี

หัวข้อนำเสนอ เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2557 กรอบและแนวคิดในการกำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหาร จัดการ ปีงบประมาณ 2557 ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการ งบกองทุนปี 2557 รายการที่กำหนดให้บริหารจัดการแบบวงเงินระดับเขต (Global budget ระดับเขต) ประเด็นเปลี่ยนแปลงสำคัญ ค่าบริการผู้ป่วยในทั่วไป เงินค่าเสื่อม การปรับลดค่าแรงของหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๖ กรกฏาคม ๒๕๕๖

1. เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557 1. เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557

เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปี 2557 ก.ตามรายการเดิมของปี 2556 รายการ ปี2556 ปี2557 เพิ่ม/ลดจากปี 2556 จำนวน ร้อยละ 1. ค่าบริการเหมาจ่ายรายหัว - เป้าหมายประชากรสิทธิ (ล้านคน) 48,445,000 48,852,000 - อัตราเหมาจ่าย (บาท/ประชากร) 2,755.60 2,895.09 139.49 5.1% - ค่าบริการเหมาจ่ายรายหัว (ล้านบาท) 133,495.04 141,430.92 7,935.88 5.9% 2. ค่าบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ (ล้านบาท) 3,276.83 2,947.00 (329.83) -10.1% 3. ค่าบริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง (ล้านบาท) 4,357.79 5,178.80 821.02 18.8% 4. ค่าบริการควบคุมป้องกันความรุนแรงของโรคเรื้อรัง(ล้านบาท) 410.09 801.24 391.15 95.4% รวมทั้งสิ้นรายการ 1-4 141,539.75 150,357.97 8,818.22 6.2% หัก-งบบุคลากรภาครัฐในระบบ UC 32,795.28 38,381.29 5,586.01 17.0% รวม 4 รายการ [ไม่รวมงบบุคลากรภาครัฐในระบบ UC] 108,744.46 111,976.67 3,232.21 3.0% ข.รายการเพิ่มเติมในปี 2557 รายการ ปี2556 ปี2557 เพิ่ม/ลดจากปี 2556 จำนวน ร้อยละ 5. ค่าใช้จ่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยบริการ (หน่วยบริการที่จำเป็นต้องให้บริการในพื้นที่กันดารและพื้นที่เสี่ยงภัย) (ล้านบาท) - 900.00 100.0% 6. ค่าตอบแทนกำลังคนด้านการสาธารณสุข (หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข) (ล้านบาท) 3,000.00 รวมทั้งสิ้นรายการ 1-6 141,539.75 154,257.97 12,718.22 9.0% รวม 6 รายการ [ไม่รวมงบบุคลากรภาครัฐในระบบ UC] 108,744.46 115,876.67 7,132.21 6.6%

รายการที่ไม่รวมในเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2557 นโยบายค่าแรงของรัฐบาล ค่าครองชีพสำหรับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 15,000 บาทต่อเดือนและค่าแรงขั้นต่ำที่ 300 บาทต่อวัน ของ ลูกจ้างชั่วคราว การปรับลูกจ้างชั่วคราวเป็นข้าราชการหรือพนักงาน ของกระทรวงสาธารณสุข การปรับบันไดเงินเดือนข้าราชการ (เดิมคาดว่าจะมี การดำเนินการในปี 2556)

กรอบวงเงินรายการที่ 1: อัตราเหมาจ่ายรายหัวปี 2557 บาทต่อผู้มีสิทธิ ประเภทบริการ ปี 2556 ปี 2557 ผลต่างขาลงปี57 > ปี56 บาท % 1) บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 983.49 1,056.96 73.47 7.5% 2) บริการผู้ป่วยในทั่วไป 975.85 1,027.94 52.09 5.3% 3) เพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 60.99 ปรับไปรายการใหม่ (60.99) -100.0% 4) บริการที่มีปัญหาการเข้าถึง 262.10 271.33 9.23 3.5% 5) บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค* 313.70 383.61 69.91 22.3% 6) บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 12.88 14.95 2.07 16.1% 7) บริการแพทย์แผนไทย 7.20 8.19 0.99 13.8% 8) งบค่าเสื่อม 128.69 - 0.0% 9) งบส่งเสริมคุณภาพผลงานบริการ 4.76 ปรับเป็นเงื่อนไขในรายการต่างๆ (4.76) 10) เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ (ม.41) 5.19 3.32 (1.87) -36.0% 11) เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ให้บริการ 0.75 0.10 (0.65) -86.7% รวม 2,755.60 2,895.09 (139.49) 5.1% * ประเภทรายการที่ 4 ครอบคลุมประชากรไทยทุกคน

กรอบวงเงินรายการที่ 2 -6 ปี 2557 ล้านบาท รายการ ปี 2556 ปี 2557 ผลต่างขาลงปี57 > ปี56 บาท % 2. ค่าบริการผู้ติดเชื้อ เอช.ไอ.วีและผู้ป่วยเอดส์ 3,276.83 2,947.00 (329.83) (10%) 2.1 ค่าบริการ 3,234.33 2,874.50   2.2 ค่าส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการ 42.50 72.50 3. ค่าบริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง 4,357.72 5,178.80 821.086 19% 3.1 ค่าบริการ 4,334.91 5,154.10 3.2 ค่าส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการ 22.81 24.70 4 ค่าบริการควบคุมป้องกันความรุนแรงของโรคเรื้อรัง 410.09 801.24 391.152 95% 4.1 ค่าบริการ 748.00 4.2 ค่าส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการ - 53.24 5. ค่าใช้จ่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยบริการ (หน่วยบริการที่จำเป็นต้องให้บริการในพื้นที่กันดารและพื้นที่เสี่ยงภัย) 900.00 100% 6. ค่าตอบแทนกำลังคนด้านการสาธารณสุข (หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข) 3,000.00 6.1 จ่ายเป็นค่าตอบแทนบุคลากรแบบเหมาจ่าย 2,000.00 6.2 จ่ายเป็นค่าตอบแทนบุคลากรตามผลการปฏิบัติงาน 1,000.00

จำนวนเงินเดือนหน่วยบริการภาครัฐ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2557 สำนักงบประมาณใช้หลักการปรับลดค่าแรง(เงินเดือน) ในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ตาม เงื่อนไขเดิมคือ หน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ปรับลดจำนวน 60% ของจำนวนเงินเดือนหน่วยบริการ หน่วยบริการ UHOSNET ปรับลด 17.52% ของอัตราเหมาจ่ายรายหัวรวม หน่วยบริการภาครัฐสังกัดอื่นๆ ปรับลด 24.58% ของอัตราเหมาจ่ายรายหัวรวม ทั้งนี้ในการจัดทำข้อเสนอของบประมาณ จะมีการคำนวณเงินเดือนรวมไว้ในค่าบริการ OP-ทั่วไป, IP-ทั่วไป, บริการเฉพาะกรณีบางรายการ และ บริการ P&P หน่วย : ล้านบาท รายการ ปี 2556 ข้อเสนอปี 2557 ปี 2557-ที่ปรับลดค่าแรง เพิ่ม/ลดจากปี 56 1. สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 31,408.1507 33,292.6387 36,822.7080 5,414.5573 2. สังกัดกรมใน สธ. (ตามจำนวนประชากรลงทะเบียน) 163.8476 173.6785 173.4667 9.6191 3. ภาครัฐอื่นๆ 1,223.2857 1,296.6828 1,385.1163 161.8306  รวม 32,795.2840 34,763.0000 38,381.2910 5,586.0070

2. กรอบและแนวคิดในการกำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการ ปีงบประมาณ 2557

กรอบและแนวคิดในการกำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและ การบริหารจัดการ ปีงบประมาณ 2557 (1) กรอบตามกฎหมาย -> ตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 18(1), 18(4), 18(13) , 38, 41, 46, 47 ตามแนวคิดพื้นฐานของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ความเป็นธรรมตาม Health Need ของประชาชน และ พื้นที่ดำเนินการ ประสิทธิผลและคุณภาพของผลงานบริการสาธารณสุข การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมดำเนินงาน หลักประกันสุขภาพและการบริการสาธารณสุข ประสิทธิภาพการบริหารค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข

รายการค่าใช้จ่ายที่ใช้ตามกรอบกฎหมาย แนวทางการบริหารกองทุนตามกรอบกฎหมายมาตรา 18(1),(4),41,46,47 ตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 รายการค่าใช้จ่ายที่ใช้ตามกรอบกฎหมาย ม.18(1) กำหนดมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ และกำหนดมาตรการในการดำเนินงานเกี่ยวกับหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติให้มีประสิทธิภาพ ม.18(4) เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้เพื่อการชดเชยผู้ให้บริการ ม.41 เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้รับบริการตามมาตรา 41 ม.46(1) อาศัยราคากลางที่เป็นจริงของโรคทุกโรคมาเป็นมาตรฐานตามข้อเสนอแนะของ คกก. ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรา 50(4) บริการผู้ป่วยในทั่วไป ได้แก่ การใช้ระบบ DRG บริการกรณีเฉพาะ (ค่าใช้จ่ายสูง /อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน/ บริการเฉพาะโรค) บริการผู้ป่วยนอกรับส่งต่อข้ามจังหวัด บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ) ม.46(2) ครอบคลุมถึงค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการในส่วนเงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป บริการผู้ป่วยในทั่วไป บริการกรณีเฉพาะบางรายการย่อย และบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จะเป็นอัตราที่รวมค่าแรงเกือบทั้งหมดทุกประเภท (ยกเว้นค่าตอบแทนบางรายการที่กระทรวงสาธารณสุขได้รับงบประมาณจากรัฐบาลโดยตรง) กรณีการจ่ายค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการภาครัฐ จึงต้องมีการปรับลดค่าแรงในส่วนเงินเดือน เนื่องจากรัฐบาลได้จ่ายเงินเดือนแล้ว ม.46(3) คำนึงถึงความแตกต่างในภารกิจของหน่วยบริการ บริการกรณีเฉพาะ (ค่าใช้จ่ายสูง /อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน/ บริการเฉพาะโรค) ซึ่งจะมีเงื่อนไขบริการสำหรับหน่วยบริการเฉพาะทาง หน่วยบริการรับส่งต่อ เป็นต้น ค่าเสื่อม การจัดเครือข่ายบริการโรคที่มีอัตราการตายสูง งบจ่ายตามเกณฑ์บริการปฐมภูมิ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค บริการแพทย์แผนไทย บริการผู้ป่วยไตวาย (กำหนดหน่วยบริการที่ต้องมีมาตรฐานเฉพาะด้าน เป็นต้น) ม.46(4) คำนึงถึงความแตกต่างในกลุ่มผู้รับบริการและในขนาดของพื้นที่บริการที่หน่วยบริการรับผิดชอบ งบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง (สำหรับหน่วยบริการในพื้นที่ hardship, หน่วยบริการขนาดเล็ก) บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป (การ diff cap ตามโครงสร้างอายุประชากร) บริการฟื้นฟูสมรรถด้านการแพทย์ (กำหนดให้คนพิการ สามารถเข้ารับการรักษาที่สถานบริการของรัฐได้ทุกแห่ง) งบบริการผู้ติดเชื้อHIV และผู้ป่วยเอดส์ ผู้ติดเชื้อสามารถรับยา ARV ที่ไหนก็ได้ การชดเชยสำหรับประชากรที่มีลักษณะพิเศษต่างกัน ได้แก่ บริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง, บริการควบคุมป้องกันและรักษาโรคเรื้อรังสำหรับผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง ม.47 โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชากรในท้องถิ่น ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่) บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด)

กรอบและแนวคิดในการกำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและ การบริหารจัดการ ปีงบประมาณ 2557 (2) ประเภทบริการ กรอบตามกฎหมาย กรอบตามแนวคิด UHC 1. งบบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว 1.1 บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป ม.46 (1), (2) , (3), (4) 1) ตาม Health need 2) ประสิทธิผลและคุณภาพผลงานบริการ 1.2 บริการผู้ป่วยในทั่วไป ม.46 (1) 4) ประสิทธิภาพการบริหารค่าใช้จ่าย 1.3 บริการกรณีเฉพาะ 1.4 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน ม.46 (2) , (3), (4) และ ม.47 1) Health need 3) การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 1.5 บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ม.46 (2) , (4) และ ม.47 1.6 บริการการแพทย์แผนไทย ม.46 (2) , (3) และ ม.47 1.7 ค่าเสื่อม ม.46 (3) 1.8 เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ (ม.41 ) ม.41 1.9 เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ให้บริการ ม.18 (4) 2. ค่าบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ ม.46 (4) และ ม.47 3. ค่าบริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ม.46 (2) , (3), (4) 4. ค่าบริการควบคุมป้องกันความรุนแรงของโรคเรื้อรัง สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ม.46 (4) 5. ค่าใช้จ่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยบริการ (หน่วยบริการที่จำเป็นต้องให้บริการในพื้นที่กันดารและพื้นที่เสี่ยงภัย) ม.46 (2), (4) 6. ค่าตอบแทนกำลังคนด้านการสาธารณสุข (หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข) ม.46 (2)

3. ประเด็นหลักในการปรับปรุง หลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2557

ขยายสิทธิประโยชน์ 2 รายการ ได้แก่ ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2557 (1) การบริหารงบกองทุนปี 2557 มีกรอบการบริหารส่วนใหญ่เหมือนปี 2556 โดยมีประเด็นที่ปรับปรุงหลัก ดังนี้ ขยายสิทธิประโยชน์ 2 รายการ ได้แก่ การเพิ่มกลุ่มเป้าหมายที่จะต้องได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล (เพิ่ม กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่อายุครรภ์มากกว่า 4 เดือน และเด็กที่อายุ 6 เดือน- 2 ปี) ได้มีการขอรับงบประมาณไว้จำนวนหนึ่งอยู่แล้ว จึงไม่เป็นภาระงบประมาณ ในปี 2557 การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดสำหรับโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวและมะเร็งต่อม น้ำเหลืองตามข้อบ่งชี้เฉพาะ (ไม่รวมผู้ป่วย Thalassemia) จัดกรอบวงเงินรายการย่อยของงบค่าบริการทางการแพทย์ เหมาจ่ายรายหัว (รวมบริการรักษาผู้ป่วยโรคนิ่วเพื่อนำนิ่วออกจากระบบ ทางเดินปัสสาวะ ไว้ที่รายการย่อยบริการผู้ป่วยในทั่วไป)

ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2557 (2) เพิ่มการจ่ายที่คำนึงถึงคุณภาพของการให้บริการเพิ่มขึ้น โดย 3.1 กำหนดวงเงินมากขึ้น บริการปฐมภูมิ จากเดิมจ่ายตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ (30 บาทต่อผู้มีสิทธิ) ปรับ เป็นจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (32 บาทต่อผู้มีสิทธิ) รวมทั้ง บูรณาการกับงบ P&P ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (20 บาทต่อคน) บริการผู้ป่วยใน ให้กันเงินจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ จากเดิมไม่เกิน 15 เป็นไม่เกิน 20 บาทต่อผู้มีสิทธิ บริการควบคุมป้องกันผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ บริการ secondary prevention จากที่เคยใช้งบร้อยละ 20 เป็นร้อยละ 40 ของ งบประมาณ 3.2 การบริหารจัดการเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ กำหนดเกณฑ์กลางจำนวนหนึ่ง และให้มีการเพิ่มเติมเกณฑ์ระดับพื้นที่โดยความ เห็นชอบของ อปสข. เกณฑ์กลางจะมาจากการหารือร่วมกันของ สปสช.และ สธ. โดยผ่าน คณะอนุกรรมการชุดต่างๆ ภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ แนวทางการจ่ายเงินให้หน่วยบริการต้องผ่านความเห็นชอบของ อปสข.

ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2557 (3) ปรับประสิทธิภาพการบริหารกองทุน เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่จำเป็นภายในเขตพื้นที่ และมีการจัดบริการครบถ้วนสอดคล้องกับปัญหาสุขภาพในเขตพื้นที่ 4.1 การกระจายอำนาจให้มีการบริหารจัดการ โดยจัดสรรเป็นวงเงินแบบมีเพดานระดับเขตตามเขตพื้นที่ความ รับผิดชอบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติระดับเขต (global budget ระดับเขต) มากขึ้น ภายใต้ กลไก อปสข. (ค่าบริการผู้ป่วยนอกทั่วไปที่จ่ายตามผลงานบริการ บริการที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ บริการ P&P ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ บริการผู้ป่วยในทั่วไป และบริการแพทย์แผนไทย) 4.2 การปรับรูปแบบการบริหารจัดการค่าเสื่อม โดยใช้หลักการเดียวกันสำหรับหน่วยบริการทุกสังกัด และหลัง คำนวณให้หน่วยบริการแล้ว ให้กันเงินไม่เกินร้อยละ 20 สำหรับบริหารจัดการระดับประเทศ/เขต/จังหวัด เพื่อ ส่งเสริมการเพิ่มการเข้าถึงบริการและลดการส่งต่อไปใช้บริการนอกเขตพื้นที่ โดยแนวทางการจ่ายให้หน่วย บริการให้ผ่านความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง และไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ให้ จ่ายตรงให้หน่วยบริการ 4.3 คำนึงถึงบริบทที่มีความเฉพาะของพื้นที่ กทม. โดยให้ สปสช.เขต 13 กรุงเทพมหานคร สามารถกำหนด หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายเป็นอย่างอื่นได้ แต่ต้องเป็นค่าใช้จ่ายบริการตามงบรายการนั้นๆ และให้เกิดผล ผลิต ผลลัพธ์และข้อมูลตามที่กำหนด ทั้งนี้หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่ายและแนวทางการจ่ายต้องผ่านความ เห็นชอบของ อปสข. (ค่าบริการผู้ป่วยนอกทั่วไปที่จ่ายตามผลงานบริการ บริการที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการ ปฐมภูมิ บริการ P&P บริการผู้ป่วยในทั่วไป การปรับลดค่าแรง และงบบริการควบคุมป้องกันผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง) 4.4 ให้มีมาตรการกำกับและเร่งรัดการใช้เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติทุกระดับ รวมทั้งกองทุนหลักประกัน สุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2557 (4) เพิ่มการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมดำเนินงานหลักประกันสุขภาพและการ บริการสาธารณสุข 5.1 เพิ่มงบ P&P ที่จัดให้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จาก 40 เป็น 45 บาทต่อคน โดยส่วนที่เพิ่มขึ้นให้จ่ายเพิ่มเติมตามศักยภาพและหรือผลการดำเนินงานของ กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 5.2 เพิ่มเป้าหมายให้มีกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด จากเขตละ 2 จังหวัด เป็นเขตละ 3 จังหวัด ปรับมาตรฐานและเงื่อนไขบริการให้สอดคล้องกับการดำเนินการบูรณาการ 3 กองทุน (ผู้ป่วยติดเชื้อ HIV/AIDS, ผู้ป่วยบริการทดแทนไต) จัดให้มีการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ (บริการ OP ที่ จ่ายตามผลงาน บริการ P&P บริการผู้ป่วยวัณโรค บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ บริการแพทย์แผนไทย บริการการเข้าถึงบริการ VCT ของกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อ HIV บริการควบคุมความรุนแรงของโรคใน ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง และบริการทดแทนไต งบภาพรวมทั้งหมดประมาณร้อยละ 0.62 ของเงินกองทุนทุกรายการ)

ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2557 (5) ให้ผนวกการปรับประสิทธิภาพหน่วยบริการกับการปรับเกลี่ยค่าแรงของหน่วย บริการสังกัด สป.สธ. โดยมีหลักการ ดังนี้ การปรับเกลี่ยต้องนำข้อมูลรายรับรายจ่ายจากทุกแหล่งมาคำนวณ ไม่ใช่เฉพาะ จากระบบ UC การปรับเกลี่ยต้องนำข้อมูลด้านประสิทธิภาพของหน่วยบริการ อาจใช้ unit cost หรือตัวชี้วัดอื่นที่สามารถแสดงถึง efficient หรือ performance มาพิจารณา ประกอบ เช่น ความครอบคลุมในการดูแลประชากร โดยต้องได้รับการยอมรับและ ตรวจทานจากหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ทุกระดับ การช่วยหน่วยบริการที่มีปัญหาการขาดทุนต้องมีเงื่อนไขในการพัฒนา ประสิทธิภาพของหน่วยบริการให้ดีขึ้น ต้องจัดระบบรายงานความก้าวหน้าในการพัฒนาและระบบในการติดตามกำกับให้มี การพัฒนาประสิทธิภาพตามแผนงานที่หน่วยบริการให้สัญญาว่าจะดำเนินการ อาจต้องมีมาตรการเฉพาะหากหน่วยบริการไม่สามารถแก้ไขปัญหาการขาด ประสิทธิภาพได้ตามแผนงานที่หน่วยบริการให้สัญญาว่าจะดำเนินการ

ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2557 (6) รายการค่าใช้จ่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยบริการ (หน่วยบริการที่จำเป็นต้อง ให้บริการในพื้นที่กันดารและพื้นที่เสี่ยงภัย) ซึ่งเป็นรายการใหม่ในปี 2557 จะใช้ผล การศึกษาสมการต้นทุนของโรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (ชุดที่ ปรับปรุงใหม่เป็นตัวแทนหน่วยบริการที่มีประสิทธิภาพ) และข้อมูลงบการเงินของ หน่วยบริการ โดยประยุกต์จ่ายตามตัวแปรของสมการต้นทุน โดยผ่านความเห็นชอบ ของคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ค่าตอบแทนกำลังคนด้านการสาธารณสุข (หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข) ซึ่งเป็นรายการใหม่ในปี 2557 ให้แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ จำนวน 2,000 ล้านบาทจ่ายเป็น ค่าตอบแทนบุคลากรแบบเหมาจ่าย และจำนวน 1,000 ล้านบาทจ่ายเป็นค่าตอบแทน บุคลากรตามผลการปฏิบัติงาน โดยให้มีคณะทำงาน 2 คณะเป็นผู้จัดทำข้อเสนอการ จ่ายเงินให้หน่วยบริการ โดยผ่านความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ การเงินการคลัง

4. รายการที่กำหนดให้ บริหารจัดการแบบวงเงินระดับเขต (Global budget ระดับเขต)

บริหารจัดการแบบ Global budget ระดับเขต ปี2557 ไว้ 4 รายการ

บริหารจัดการแบบ Global budget ระดับเขต 4 รายการ บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป รายการย่อย “จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและ ผลงานบริการปฐมภูมิ” (ข้อ 11) บริการผู้ป่วยในทั่วไป (ข้อ 14) บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการระดับพื้นที่ (P&P area health services) ส่วนที่เหลือจากจัดสรรให้กองทุนฯ ระดับท้องถิ่น (ข้อ 27.2) บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐาน (P&P basic services) ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (ข้อ 28.3) บริการการแพทย์แผนไทย (ข้อ 38.1.1) * เลขข้อในวงเล็บ อ้างอิงตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง “หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ปีงบประมาณ 2557”

บริหารจัดการแบบ Global budget ระดับเขต (1) 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป รายการย่อย “จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ” จำนวนเงิน แนวทางการจัดสรร global budget ระดับเขต และแนวทางการบริหารจัดการ* ไม่น้อยกว่า 32 บาทต่อผู้มีสิทธิ จัดสรรเป็น global budget ระดับเขต ตามจำนวนผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียน และบูรณา การการบริหารจัดการรวมกับงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับ บริการพื้นฐานที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑ์วัด 4 ด้าน (QOF) โดย อย่างน้อยต้องเป็นไปตามเกณฑืกลางที่ สปสช.กำหนด และ สปสช.เขต โดย คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิระดับเขต สามารถเพิ่มเติมเกณฑ์ระดับ พื้นที่ได้ภายใต้ความเห็นชอบของ อปสข. แนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. (ข้อ 11.1) ไม่เกิน 4 บาทต่อผู้มีสิทธิ จัดสรรเป็น global budget ระดับเขต ตามจำนวนผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียน จ่ายเป็นค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิให้มีศักยภาพและมีคุณภาพ ตามแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัว แนวทางการสนับสนุนให้ผ่านความเห็นชอบของ อปสข. (ข้อ 11.2) * เลขข้อในวงเล็บ อ้างอิงตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง “หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ปีงบประมาณ 2557”

บริหารจัดการแบบ Global budget ระดับเขต (2) 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป จำนวนเงิน แนวทางการจัดสรร global budget ระดับเขต และแนวทางการบริหารจัดการ* 1,027.94 บาทต่อ ผู้มีสิทธิ คำนวณตามเงื่อนไขบริการเฉพาะ ค่า RW เฉลี่ยต่อผู้มีสิทธิตามโครงสร้างอายุ และ ผลงานรวมของ adjRW (ข้อ 14) แนวทางการจ่ายส่วนใหญ่เหมือนปี 2556 * เลขข้อในวงเล็บ อ้างอิงตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง “หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ปีงบประมาณ 2557”

บริหารจัดการแบบ Global budget ระดับเขต (3) 3. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รายการ จำนวนเงิน แนวทางการจัดสรร global budget ระดับเขต และแนวทางการบริหารจัดการ* บริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับ บริการระดับพื้นที่ (P&P area health services) ส่วนที่เหลือ จากจัดสรรให้ กองทุนฯ ระดับท้องถิ่น จัดสรรเป็น global budget ระดับเขตตามจำนวนประชากร ไทยในพื้นที่รับผิดชอบ เป็นค่าใช้จ่ายบริการ P&P ที่เป็นปัญหาเฉพาะพื้นที่หรือตาม นโยบายสำคัญ บริการที่ต้องบริหารจัดการในภาพรวมระดับ เขตหรือจังหวัด การตามจ่ายค่าบริการแทนหน่วยบริการ แนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. (ข้อ 27.2) บริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับ บริการพื้นฐาน (P&P basic services) 20 บาทต่อ คน บริหารจัดการโดยบูรณาการการบริหารจัดการที่ระดับเขต รวมกับงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (ข้อ 28.3) * เลขข้อในวงเล็บ อ้างอิงตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง “หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ปีงบประมาณ 2557”

บริหารจัดการแบบ Global budget ระดับเขต (4) 4. บริการการแพทย์แผนไทย จำนวนเงิน แนวทางการจัดสรร global budget ระดับเขต และแนวทางการบริหารจัดการ* ไม่น้อยกว่า 6.79 บาทต่อผู้มีสิทธิ จัดสรรเงินเป็น global budget ระดับเขตตามจำนวนผู้มีสิทธิและ ผลงานบริการในปีที่ผ่านมา ในสัดส่วน 50:50 เป็นค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมให้แก่หน่วยบริการสำหรับบริการการแพทย์แผน ไทยตามเกณฑ์ที่ สปสช.กำหนด แนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. (ข้อ 38.1.1) * เลขข้อในวงเล็บ อ้างอิงตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง “หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ปีงบประมาณ 2557”

5. ประเด็นเปลี่ยนแปลงสำคัญ ค่าบริการผู้ป่วยในทั่วไป เงินค่าเสื่อม การปรับลดค่าแรงของหน่วยบริการสังกัด สป.สธ.

ค่าบริการผู้ป่วยในทั่วไป

ค่าบริการผู้ป่วยในทั่วไป ปี2557 ประเด็นเปลี่ยนแปลงสำคัญ ขอบเขตบริการ รวมกรณีบริการรักษาผู้ป่วยโรคนิ่วเพื่อ นำนิ่วออกจากระบบทางเดินปัสสาวะ (ย้ายมาจากการ บริหารจัดการเฉพาะโรค) การปิด Global budget ระดับเขต

IP - การปิด Global budget ระดับเขต

เงินค่าเสื่อม

กรอบแนวทางบริหารงบค่าเสื่อมปี 2557 (128.69 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม OP (55.10 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม IP (53.59 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม PP (20 บาทต่อผู้มีสิทธิ) หมายเหตุ (B)ไม่เกิน20% สำหรับการบริหารระดับประเทศ/เขต/จังหวัด เพื่อส่งเสริมการเพิ่มการเข้าถึงบริการและลดการส่งต่อไปใช้บริการนอกเขตพื้นที่ โดยแนวทางการจ่ายให้ผ่านความเห็นชอบจากคณุอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ตามจำนวนผู้ลงทะเบียนสิทธิ คำนวณตามสัดส่วนอัตราต่อผู้มีสิทธิของงบ OP-PP-IP ตามจำนวนผลบริการ IP (sum adjRW) ของหน่วยบริการ รวมงบค่าเสื่อมที่คำนวณตามสัดส่วน OP-PP-IP (100%) (A) โอนตรงหน่วยบริการไม่น้อยกว่า 80% (B) ไม่เกิน 20% สำหรับการบริหารระดับประเทศ/เขต/จังหวัด หน่วยบริการ

เงินค่าเสื่อมปี 2557 - มติคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ครั้งที่ 5/2556 วันที่ 17 กันยายน 2556 เห็นชอบให้แนวทางแนวทางการจ่ายเงินค่าเสื่อมปี 2557 ส่วนที่กัน ไว้ไม่เกินร้อยละ 20 เพื่อส่งเสริมการเพิ่มการเข้าถึงบริการ และลด การส่งต่อไปใช้บริการนอกเขตพื้นที่ มีแนวทางการจ่ายให้หน่วย บริการ ดังนี้ สำหรับเงินที่กันมาจากหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ให้บริหาร จัดการระดับประเทศโดย สป.สธ. ซึ่งต้องมีแผนการพัฒนา ครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง เพื่อทดแทนส่วนขาดและซ่อมบำรุง ครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้างที่เสื่อมถอยหรือถดถอยหรือเสียหายจน ไม่สามารถใช้งานได้ดังเดิม สำหรับหน่วยบริการอื่นๆ ที่เหลือ ให้จ่ายคืนให้หน่วยบริการ ตามจำนวนที่กันไว้

การปรับลดค่าแรง ของหน่วยบริการสังกัด สป.สธ.

ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ หมวดที่ ๒ ส่วนที่ ๑๐ การปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐ ที่ให้บริการผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ ๕๑.๔ วิธีการปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐสังกัด สป.สธ.

วิธีการปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐสังกัด สป.สธ. ปี 2557 (2)

วิธีการปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐสังกัด สป.สธ. ปี 2557 (3)

ขอบคุณครับ