บทที่ 1 บทนำ(Introduction)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ระบบประเมินผลกระทบความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมโรงงานอุตสาหกรรม
เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง และตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงการ
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลำดับการนำเสนอ ความหมายและความจำเป็นของเทคโนโลยีสะอาด
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
CSE323 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analysis and Design)
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
The General Systems Theory
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
Memory Management ในยุคก่อน
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ 78/2554 เรื่องหลักเกณฑ์ทั่วไปในการระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ประกาศ ณ วันที่
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
การสร้างแผนงาน/โครงการ
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
บทที่ 4 Plan การวางแผน.
โดยนางสาวจงจิตร์ นีรนาทเมธีกุล ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
กรณีศึกษาเกี่ยวกับการใช้กฎหมาย เพื่อคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
การออกแบบอุปกรณ์ควบคุมมลภาวะอากาศ
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ที่มา: Causal Process in Criminality in Don C
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
นโยบายอาญาและการป้องกันอาชญากรรม
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้ง จากระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
การออกแบบการวิจัย.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 บทนำ(Introduction) Wastewater Engineering โดย ธิติ เชี่ยวชาญวิทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Textbook: Metcalf & Eddy, Inc Textbook: Metcalf & Eddy, Inc.,Wastewater Engineering Treatment and Reuse, 4th Edition, McGraw-Hill. เนื้อหา บทที่ 1 บทนำ(Introduction) * บทที่ 2 องค์ประกอบในน้ำเสีย(Constituents in Wastewater) * บทที่ 3 การวิเคราะห์เลือกอัตราการไหลของน้ำเสียและภาระองค์ประกอบต่างๆ(Analysis and Selection of Wastewater Flowrates and Constituent Loadings) * บทที่ 4 การวิเคราะห์และเลือกกระบวนการ(Process Analysis and Selection) * บทที่ 5 หน่วยดำเนินการทางกายภาพ(Physical Unit Operations) * บทที่ 6 หน่วยกระบวนการทางเคมี(Chemical Unit Operations) * บทที่ 7 การบำบัดทางชีวภาพเบื้องต้น(Fundamentals of Biological Treatment) * บทที่ 8 ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดเล็ก(Small Wastewater Treatment Systems)** บทที่ 9 ระบบบำบัดโดยใช้ธรรมชาติ(Natural Treatment System)** บทที่ 10 การจัดการตะกอนชีววิทยา(Biosolids Management)*** บทที่ 11 กระบวนการบำบัดทางชีววิทยาแบบเติบโตแขวนลอย(Suspended Growth Biological Treatment Processes)*** บทที่ 12 กระบวนการบำบัดทางชีววิทยาแบบเติบโตเกาะติดและแบบผสม(Attached Growth and Combined Biological Treatment Processes)*** บทที่ 13 กระบวนการบำบัดทางชีววิทยาไม่ใช้อากาศแบบเติบโตแขวนลอยและแบบเติบโตเกาะติด(Anaerobic Suspended and Attached Growth Biological Treatment Processes)*** * จาก 4th Edition ** จาก 3rd Edition *** ถ้ามีเวลาเหลือ

1.วิศวกรรมน้ำเสีย วิศวกรรมน้ำเสียเป็นสาขาหนึ่งของวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการบำบัดและการนำน้ำเสียกลับมาใช้ใหม่ เป้าหมายก็คือการป้องกันทางสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีความรู้ในด้าน องค์ประกอบที่ต้องคำนึงถึงในน้ำเสีย ผลขององค์ประกอบเหล่านั้น เมื่อปล่อยออกไปสู่สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงและผลขององค์ประกอบเหล่านั้นในกระบวนการบำบัด วิธีการบำบัดเพื่อที่จะแยกออกหรือปรับเปลี่ยนองค์ประกอบเหล่านั้น วิธีใช้ประโยชน์หรือวิธีทิ้งของแข็งที่เกิดจากระบบบำบัด รูปที่ 1.1 แสดงโครงสร้างพื้นฐานในการจัดการน้ำเสีย

รูปที่ 1.1 โครงสร้างพื้นฐานในการจัดการน้ำเสีย

2. การบำบัดน้ำเสีย น้ำเสียจากชุมชนและเมืองใหญ่จะต้องถูกส่งกลับไปยังแหล่งน้ำหรือผืนดินหรือเพื่อนำกลับไปใช้ใหม่ การตัดสินว่าระดับของการบำบัดที่ต้องการเพื่อที่จะไม่ให้เกิดผลต่อสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมควรเป็นเท่าใด ต้องการการวิเคราะห์เงื่อนไขและความต้องการของท้องถิ่น การใช้ความรู้ทางวิศวกรรมจากประสบการณ์ที่ผ่านมา การพิจารณาข้อบังคับขององค์กรท้องถิ่นและรัฐบาล ในบางกรณีจำเป็นต้องทำการประเมินค่าความเสี่ยง(risk assessment)โดยละเอียด วิธีการบำบัดที่เน้นการกระทำทางกายภาพ เรียกว่าหน่วยการทำงาน(unit operations) วิธีการในการแยกสิ่งปนเปื้อนออกโดยปฏิกิริยาเคมีหรือชีววิทยา เรียกว่าหน่วยกระบวนการ(unit processes) ทั้งหน่วยการทำงานและหน่วยกระบวนการผสานเข้าเป็นระดับการบำบัดต่างๆ คือ เริ่มต้น(preliminary) ปฐมภูมิ(primary) ปฐมภูมิขั้นสูง(advanced primary) ทุติยภูมิ(secondary) ทุติยภูมิพร้อมการกำจัดสารอาหาร(secondary with nutrient removal) ตติยภูมิ(tertiary) และขั้นสูง(advanced) ดังตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.2 แสดงหน่วยการทำงานและหน่วยกระบวนการที่ใช้ในการแยกองค์ประกอบที่พบในน้ำเสีย

ตารางที่ 1.1 ระดับของการบำบัดน้ำเสีย

ตารางที่ 1.2หน่วยการทำงานและหน่วยกระบวนการที่ใช้ในการแยกองค์ประกอบที่พบในน้ำเสีย