Week 7 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Suphot Sawattiwong Lab I-II Suphot Sawattiwong
Advertisements

CSI1201 การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง Structured Programming
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
LAB # 2.
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
ครั้งที่ 8 Function.
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
Control Statement for while do-while.
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
โครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไข
การควบคุมทิศทางการทำงาน
LAB # 3 Computer Programming 1
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
คำสั่ง while ควบคุมการทำงานวนซ้ำ กรณีระบบงานมีลักษณะตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แล้วเข้าสู่ส่วนลำดับงานคำสั่งที่กำหนดไว้ การเขียนคำสั่ง while ต้องกำหนดนิพจน์แบบตรรกะเป็นเงื่อนไขมีค่าในหน่วยความจำเป็น.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
คำสั่งแบบเลือกทำ Week 6.
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Understanding Course Syllabus
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
ตัวอย่างคำสั่ง CASE.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำสั่งควบคุม (Control Statement)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สัมพันธุ์ จันทร์ดี
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
รูปแบบ if-else if if (เงื่อนไข1) {
Flow Control.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
Chapter 4 คำสั่งควบคุมทิศทาง
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน และ การเขียนผังงานและซูโดโค้ด
โครงสร้างควบคุมการทำงาน
ความรู้พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การใช้คำสั่งเงื่อนไขใน exel
คำสั่งลำลอง.
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน (Flowchart)
หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนพะเยาพิทยาคม โดย อ.วัชระ การสมพจน์
Week 3 Flow Control in PHP
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
Computer Programming for Engineers
Recursion การเรียกซ้ำ
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
คำสั่งทำซ้ำ for คำสั่ง for เป็นคำสั่งทำซ้ำในลักษณะ Definite loop คือทราบจำนวนรอบที่แน่นอนในการทำงาน ซึ่งจะใช้ตัวแปร 1 ตัวในการนับจำนวนรอบว่าครบตามกำหนดหรือไม่
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
By Winit Yuenying Tel  เพื่อศึกษาแนวคิดเชิงวัตถุ คลาส ออบเจ็กต์ การซ่อนสารสนเทศ การ ห่อหุ้ม ความสามารถในการสร้าง ตัวแทน กรรมวิธีการถ่ายทอด.
ผังงาน (Flow chart).
Flowchart การเขียนผังงาน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 5 การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Week 7 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น

เนื้อหา Pseudocode แบบฝึกหัด การประกาศตัวแปร (int และ string) เงื่อนไข if-else-elseif การวนซ้ำ for-while เนื้อหาในคาบนี้ประกอบด้วย แนะนำ Pseudo code แบบฝึกหัดการเขียนโปรแกรม ที่ครอบคลุมถึงเนื้อหาในคาบก่อนหน้า (การประกาศตัวแปร เงื่อนไข และการวนซ้ำ)

Pseudocode Pseudocode (รหัสจำลอง หรือ คำสั่งเทียม) อ่านว่า “ซู-โด-โค้ด” หรือ “สู-โด-โค้ด” อธิบายขั้นตอนการทำงานของชุดคำสั่งเป็นภาษาที่มนุษย์ทั่วไปสามารถเข้าใจได้ง่าย 1 บรรทัดต่อ 1 คำสั่ง มีลำดับการทำงานจากบนลงล่าง

ตัวอย่างของ Pseudocode เดินไปที่ใต้ตึกอาคาร 30 ปี ถ้าร้านกาแฟเปิด เดินเข้าร้าน สั่งกาแฟ ถ้ากาแฟหมด สั่งชาเย็น ถ้าร้านกาแฟปิด เดินไปโรงอาหาร สั่งเกาเหลาข้าวเปล่า การเลือกซื้อเครื่องดื่ม

แบบฝึกหัด Pseudocode ของการต้มมาม่า?

ประโยชน์ของ Pseudocode ง่ายกว่าการเขียน Flowchart คนทั่วไปสามารถเข้าใจได้ง่าย ช่วยในการสื่อสารความเข้าใจระหว่างผู้เขียนโปรแกรมและผู้อื่น

แบบฝึกหัด #1 ระบบตัดเกรด ระบบตัดเกรดคือระบบที่มีความสามารถในการตัดเกรดจากคะแนนที่ได้รับ โดยมีเกณฑ์ดังนี้ 80-100 → A 70-79 → B 60-69 → C 50-59 → D 0-49 → F แบบฝึกหัด #1 ระบบตัดเกรด ระบบตัดเกรดคือระบบที่มีความสามารถตัดเกรดจากคะแนนที่ได้รับ โดยอ้างอิงจากเกณฑ์ที่กำหนดไว้ดังนี้ ช่วงคะแนน 80-100 – เกรด A ช่วงคะแนน 70-79 – เกรด B ช่วงคะแนน 60-69 – เกรด C ช่วงคะแนน 50-59 – เกรด D ช่วงคะแนน 0-49 – เกรด F

แบบฝึกหัด #1-1 พัฒนาระบบตัดเกรดที่มีความสามารถดังต่อไปนี้ ทำงาน 5 รอบ รับอินพุต [คะแนน] รอบละ 1 ครั้ง แบบฝึกหัด #1-1 ให้นักศึกษาพัฒนาระบบตัดเกรดที่มีความสามารถดังต่อไปนี้ ทำงาน 5 รอบ รับอินพุต [คะแนน] รอบละ 1 ครั้ง

แบบฝึกหัด #1-1 ตัวอย่างเอาท์พุต Please enter your score: 75 Your grade is B Please enter your score: 43 Your grade is F Please enter your score: 66 Your grade is C Please enter your score: 71 Please enter your score: 49 ตัวอย่างผลการทำงานของโปรแกรมที่ได้จากแบบฝึกหัด #1-1 #include <stdio.h> void main() { int i, score; for (i=1; i<6; i++) { printf(“\n\nPlease enter your score: "); scanf("%d", &score); if (score < 50) { printf("Your grade is F"); } else if (score < 60) { printf("Your grade is D"); else if (score < 70) { printf("Your grade is C"); else if (score < 80) { printf("Your grade is B"); else { printf("Your grade is A");

#include <stdio.h> void main() { int i, score; for (i=1; i<6; i++) { printf(“\n\nPlease enter your score: "); scanf("%d", &score); if (score < 50) { printf("Your grade is F"); } else if (score < 60) { printf("Your grade is D"); else if (score < 70) { printf("Your grade is C"); else if (score < 80) { printf("Your grade is B"); else { printf("Your grade is A");

แบบฝึกหัด #1-2 พัฒนาระบบตัดเกรดที่มีความสามารถเพิ่มขึ้น ทำงาน n รอบ รับอินพุต [จำนวนรอบการทำงาน] 1 ครั้ง รับอินพุต [คะแนน] รอบละ 1 ครั้ง แบบฝึกหัด #1-2 ให้นักศึกษาพัฒนาระบบตัดเกรดที่มีความสามารถดังต่อไปนี้ ทำงาน n รอบ รับอินพุต [จำนวนรอบการทำงาน] 1 ครั้ง รับอินพุต [คะแนน] รอบละ 1 ครั้ง

แบบฝึกหัด #1-2 ตัวอย่างเอาท์พุต Please input the number of students: 3 Please enter your score: 75 Your grade is B Please enter your score: 43 Your grade is F Please enter your score: 66 Your grade is C ตัวอย่างผลการทำงานของโปรแกรมที่ได้จากแบบฝึกหัด #1-2 #include <stdio.h> void main() { int i, score, n; printf(“Please input the number of students: "); scanf("%d", &n); for (i=1; i<n+1; i++) { printf(“\n\nPlease enter your score: "); scanf("%d", &score); if (score < 50) { printf("Your grade is F"); } else if (score < 60) { printf("Your grade is D"); else if (score < 70) { printf("Your grade is C"); else if (score < 80) { printf("Your grade is B"); else { printf("Your grade is A");

#include <stdio.h> void main() { int i, score, n; printf(“Please input the number of students: "); scanf("%d", &n); for (i=1; i<n+1; i++) { printf(“\n\nPlease enter your score: "); scanf("%d", &score); if (score < 50) { printf("Your grade is F"); } else if (score < 60) { printf("Your grade is D"); else if (score < 70) { printf("Your grade is C"); else if (score < 80) { printf("Your grade is B"); else { printf("Your grade is A");

แบบฝึกหัด #1-3 พัฒนาระบบตัดเกรดที่มีความสามารถเพิ่มขึ้น ทำงานไปเรื่อยๆ จนกว่าจะถูกสั่งให้หยุดทำงาน รับอินพุต [คะแนน] รอบละ 1 ครั้ง รับอินพุต [ต้องการทำงานต่อหรือไม่] รอบละ 1 ครั้ง แบบฝึกหัด #1-3 ให้นักศึกษาพัฒนาระบบตัดเกรดที่มีความสามารถดังต่อไปนี้ ทำงานไปเรื่อยๆ จนกว่าจะถูกสั่งให้หยุดการทำงาน รับอินพุต [คะแนน] รอบละ 1 ครั้ง รับอินพุต [ต้องการทำงานต่อหรือไม่] รอบละ 1 ครั้ง

แบบฝึกหัด #1-3 ตัวอย่างเอาท์พุต Please enter your score: 75 Your grade is B Would you like to continue? (y/n): y Please enter your score: 43 Your grade is F Please enter your score: 66 Your grade is C Would you like to continue? (y/n): n ตัวอย่างผลการทำงานของโปรแกรมที่ได้จากแบบฝึกหัด #1-3 #include <stdio.h> void main() { int score; char cont=‘y’; while((cont == ‘y’)||(cont == ‘Y’)) { printf("\n\nPlease enter your score: "); scanf("%d", &score); if (score < 50) { printf("Your grade is F"); } else if (score < 60) { printf("Your grade is D"); else if (score < 70) { printf("Your grade is C"); else if (score < 80) { printf("Your grade is B"); else { printf("Your grade is A"); printf("Would you like to continue? (y/n): "); cont = getch();

#include <stdio.h> void main() { int score; char cont=‘y’; while((cont == ‘y’)||(cont == ‘Y’)) { printf("\n\nPlease enter your score: "); scanf("%d", &score); if (score < 50) { printf("Your grade is F"); } else if (score < 60) { printf("Your grade is D"); else if (score < 70) { printf("Your grade is C"); else if (score < 80) { printf("Your grade is B"); else { printf("Your grade is A"); printf("Would you like to continue? (y/n): "); cont = getch();

พัฒนาระบบตัดเกรดที่มีความสามารถดังต่อไปนี้ แบบฝึกหัด #2 พัฒนาระบบตัดเกรดที่มีความสามารถดังต่อไปนี้ ทำงานไปเรื่อยๆ จนผู้ใช้กรอกคะแนน 999 จึงหยุดการทำงาน รับอินพุต [คะแนน] รอบละ 1 ครั้ง นับและแสดงผลรวมจำนวนนักศึกษาที่ได้เกรดแต่ละเกรด คำนวณและแสดงคะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย = คะแนนรวมทั้งหมด / จำนวนนักศึกษา คำนวณและแสดง GPA ของนักศึกษาทั้งชั้น GPA = เกรดรวมทั้งหมด / จำนวนนักศึกษา แบบฝึกหัด #2 ให้นักศึกษาพัฒนาระบบตัดเกรดที่มีความสามารถดังต่อไปนี้ ทำงานไปเรื่อยๆ จนเมื่อผู้ใช้กรอกคะแนน 999 จึงหยุดการทำงาน รับอินพุต [คะแนน] รอบละ 1 ครั้ง นับและแสดงผลรวมจำนวนนักศึกษาที่ได้เกรดแต่ละเกรด คำนวณและแสดงคะแนนเฉลี่ย (คะแนนรวมทั้งหมด/จำนวนนักศึกษา) คำนวณและแสดง GPA เฉลี่ยของชั้น ((จำนวนนักศึกษาได้ A * 4 + จำนวนนักศึกษาได้ B * 3 + จำนวนนักศึกษาได้ C * 2 + จำนวนนักศึกษาได้ D * 1 + จำนวนนักศึกษาได้ F * 0)/จำนวนนักศึกษาทั้งหมด)

แบบฝึกหัด #2 ตัวอย่างเอาท์พุต Please enter your score: 75 Your grade is B Please enter your score: 43 Your grade is F Please enter your score: 999 Program end. Calculating the scores… Total students with A: 0 Total students with B: 1 Total students with C: 0 Total students with D: 0 Total students with F: 1 Average student score: 59 Average student GPA: 1.5 ตัวอย่างผลการทำงานของโปรแกรมที่ได้จากแบบฝึกหัด #2