ความหลากหลายทางชีวภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

ENVIRONMENTAL SCIENCE
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
1.ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
เศรษฐกิจพอเพียง.
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
โดย นางภัทรา คำสีทา ตำแหน่ง ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนนาด้วงวิทยา
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
BIO-ECOLOGY 2.
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
แนวปฏิบัติในการขอทำประโยชน์ในเขตป่า
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
สัมมนาวิชาการ Alien species กับการค้าสัตว์ป่า
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
6.ข้อจำกัดในการพัฒนาปศุสัตว์
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
โลก ร้อน. จำนวนพายุ เฮ อริเคน ที่มีความ รุนแรงมากระดับ 4 และ 5 เพิ่มขึ้น สองเท่า ใน สามสิบปีที่ผ่าน มา.
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหลากหลายทางชีวภาพ

นายทวีศักดิ์ สุวรรณโชติ กลุ่ม 20 คณะสาธารณสุขศาสตร์ จัดทำโดย นายทวีศักดิ์ สุวรรณโชติ กลุ่ม 20 คณะสาธารณสุขศาสตร์ รหัส 56070247

ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมีชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดมาอยู่ร่วมกัน ณ สถานที่หนึ่งหรือระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง

ความหลากหลายทางชีวภาพมี 3 ระดับ 1 ความหลากหลายในระดับพันธุกรรม 2 ความหลากหลายในระดับชนิดของสิ่งมีชีวิต 3 ความหลากหลายในระดับของระบบนิเวศ

ความหลากหลายทางพันธุกรรม      ในระบบนิเวศหนึ่งๆ จะประกอบด้วยกลุ่มสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด แม้ในสิ่งมีชีวิตเดียวกันก็ยังมีความหลากหลายทางพันธุกรรมที่ทำให้เกิดสายพันธุ์ต่างๆ อันเป็นรากฐานสำคัญที่เอื้ออำนวยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถดำรงเผ่าพันธุ์ได้สืบไป

รูปภาพแสดงความหลากหลายสายพันธุ์

ความหลากหลายทางพันธุกรรมมีสาเหตุดังนี้ 1. การผ่าเหล่า (Mutation) ลูกที่เกิดมาแตกต่างจากพ่อแม่ 2. การปรับปรุงพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่ดีกว่าเดิม 3. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ พ่อและแม่มีลักษณะเด่นและด้อยต่างกัน 4. การใช้เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ เช่น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การผสมเทียม การโคลน การตัดต่อยีน

ความหลากหลายในระดับชนิดของสิ่งมีชีวิต โลกของเรามีสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดกว่า 1.5 ล้านชนิด เพื่อความสะดวกในการศึกษาจึงมีการจัดแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ โดยในแต่ละกลุ่มที่มีการจัดกลุ่มย่อยที่เล็กลงไปตามลำดับจนถึงกลุ่มย่อยพื้นฐานที่สุดในระบบจำแนกสิ่งมีชีวิตเรียกว่า สปีชีส์ ( species ) สปีชีส์ คือ กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เป็นประชากรเดียวกันผสมพันธุ์กันแล้วได้ลูกหลานสืบทอดต่อไป ตัวอย่าง : คนทุกชาติในโลกสปีชีส์เดียวกัน คือ Homo  sapiens

ความหลากหลายของระบบนิเวศ ระบบนิเวศแต่ละระบบเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตมากมาย หลายชนิด โดยมีสภาวะที่เหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด โดยที่ระบบนิเวศจะมีความหลากหลายที่สามารถแยกออกได้ 4 ลักษณะ คือ  1. ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด 2. ระบบนิเวศในทะเล 3. ระบบนิเวศป่าชายเลน 4. ระบบนิเวศป่าไม้

ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด

ระบบนิเวศในทะเล

ระบบนิเวศป่าชายเลน

ระบบนิเวศป่าไม้

ผลของความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ผลที่มีต่อมนุษย์ ทำให้มนุษย์สามารถคัดเลือกสาย พันธุ์พืชและสัตว์มาใช้ประโยชน์ตามต้องการได้ 2. ผลที่มีต่อสัตว์และพืช ทำให้สัตว์และพืชอยู่ร่วมกัน ในธรรมชาติอย่างสมดุล เช่น แบบอิงอาศัย หรือ ภาวะปรสิต 3. ผลที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ ทำให้ สิ่งแวดล้อมมีความสมดุลทั้งทางอากาศ ดิน และน้ำ

การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ 1. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตและบริโภค ที่ทำการเกษตรแบบมุ่งเน้นการค้า มีการใช้สารเคมีมากขึ้นในการเกษตร เช่น ยาฆ่าแมลงและยาปราบศัตรูพืช เกิดสารพิษตกค้างในดินและแหล่งน้ำ กระทบต่อสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในดิน และสัตว์น้ำ 2. การเติบโตของประชากรและการกระจายตัวของประชากร ทำให้เกิดการรุกล้ำเข้าไปในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ซึ่งกระทบต่อความสมดุลของระบบนิเวศ

การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ 3. การทำลายถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์นานาพันธุ์ เช่น การทำลายป่า การล่าสัตว์ 4. มีการนำทรัพยากรธรรมชาติไปใช้ประโยชน์มากเกินไป 5. การตักตวงผลประโยชน์จากชนิดพันธุ์ของพืชและสัตว์ป่า เพื่อผลประโยชน์ทางการค้า โดยการค้าขายสัตว์และพืชป่าแบบผิดกฎหมาย 6. การนำเข้าชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ซึ่งมีผลกระทบต่อการทำลายสายพันธุ์ท้องถิ่น 7. การสร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เช่น มลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ และขยะ เป็นต้น

การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ 8. การเปลี่ยนแปลงภาวะเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมของโลก เช่น อุณหภูมิโลกสูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของน้ำทะเล ภัยแล้งทำให้เกิดปัญหาการขาดแคลนน้ำ การเกิดไฟป่า 9. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology)ด้านการตัดต่อหน่วยพันธุกรรมหรือ จีเอ็มโอ (GMO; Genetically Modified Organisms) หรือพันธุวิศวกรรมศาสตร์ (genetic

THE END