เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th Array in PHP เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

Arrays.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
เสรี ชิโนดม MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
Introduction to C Programming
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
Principles of Programming
Principles of Programming
Data Type part.II.
Data Type part.III.
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Array.
ARRAY.
ฟังก์ชันตรวจสอบเงื่อนไข
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
อาเรย์ (Array).
ตัวแปรชุด.
Arrays.
C Programming Lecture no. 6: Function.
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
Selected Topics in IT (Java)
Php Variable , Expression Professional Home Page :PHP
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
เครื่องนักศึกษา  c:\appserv\www\ชื่อนักศึกษา\ชื่อไฟล์.php
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 8 อาร์เรย์.
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
การทำงานกับ เลขจำนวน ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
โปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
ตัวแปรชุด Arrays.
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ฟังก์ชัน.
การใช้ PHP ติดต่อกับ Text File
เสรี ชิโนดม PHP กับ Form เสรี ชิโนดม
อาร์เรย์ (Arrays).
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 โครงสร้างข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th Array in PHP เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th

อะเรย์ (Array) อะเรย์หรือตัวแปรชุดคือตัวแปรที่สามารถเก็บค่าได้หลายๆค่า โดยใช้ตัวแปรตัวเดียว สิ่งที่อยู่ภายในอะเรย์เรียกว่าสมาชิก แต่ละสมาชิกในอะเรย์จะมีอินเด็กซ์เพื่อใช้อ้างอิง อินเด็กซ์ใช้อ้างอิงถึงแต่ละสมาชิกที่อยู่ในอะเรย์ ใน PHP อินเด็กซ์จะเริ่มที่ 0 แต่สามารถกำหนดอินเด็กซ์ให้เป็นตัวอักษรได้ PHP Programming

ตัวอย่าง <html> <body> <? $arr[0] = "Red"; $arr[1] = "Green"; $arr[2] = "Blue"; $arr[3] = "White"; echo " $arr[0] , $arr[1] ,$arr[2] ,$arr[3] " ; ?> </body> </html> PHP Programming

อะเรย์ (Array) ใน PHP อะเรย์ที่มีขนาดเปลี่ยนแปลงได้เรียกว่า dynamic array หรือ vector(สำหรับอะเรย์มิติเดียว) $myarray[]=3; $myarray[]=1.1; $myarray[]="abc"; ขนาดจะปรับเปลี่ยนได้ คือขยายจำนวนข้อมูลที่เก็บอยู่ภายในอะเรย์ ข้อมูลแต่ละตัวในอะเรย์ไม่จำเป็น ต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน เช่น อาจจะมีทั้งจำนวนเต็ม เลขทศนิยม PHP Programming

ตัวอย่าง <? $arr[0] = "Chair"; $arr[1] = 20; $arr[2] = 3.37; $all = count( $arr ); for ($i=0; $i<$all; $i++){ print "Member $i =$arr[$i] <BR>"; } ?> PHP Programming

การสร้างอะเรย์เพื่อนำไปใช้งาน ไม่จำเป็นต้องประกาศตัวแปร ค่าของอะเรย์จะ ถูกกำหนดให้ตอนที่ โปรแกรมทำงาน (Run time) <? $arr[] = "Red"; $arr[] = "Green"; $arr[] = "Blue"; $arr[] = "White"; ?> PHP Programming

การสร้างอะเรย์เพื่อนำไปใช้งาน <? $arr[10] = 100; $arr[5] = 200; $arr[40] = 300; ?> PHP Programming

การสร้างอะเรย์โดยใช้ฟังก์ชัน array รูปแบบ array array([mixed…]) <? $arr = array( 5,6,7,4,3,2,10,3,440 ); $all = count( $arr ); for ($i=0;$i<$all;$i++){ print "$arr[$i] "; } ?> PHP Programming

ตัวอย่าง $arr=arrray(10,20,30.30,"PHP","PROGRMMING"); for($r=0; $r < count($arr) ; $r++){ echo (" index $r = $arr [$r]<br>"); } PHP Programming

การสร้างอะเรย์โดยใช้ฟังก์ชัน range รูปแบบ array range(int low, int high) ตัวอย่าง <? $arr = range( 6,10); $all = count( $arr ); for ($i=0;$i<$all;$i++){ echo "arr[" .$i. "] = "; echo $arr[$i] ; echo "<BR>"; } ?> PHP Programming

การเข้าถึงข้อมูลในอะเรย์ การอ้างตำแหน่งของอินเด็กซ์ เช่น $arr[3]="php"; ใช้ ข้อความสั่ง for เช่น for ($i=0;$i<4;$i++){ echo $arr[$i]."<BR>"; } PHP Programming

City 0 is San Francisco. City 1 is Los Angeles. City 2 is New York. <HTML> <HEAD><TITLE>Figure 5-2</TITLE></HEAD> <BODY> <? $Cities[] = "San Francisco"; $Cities[] = "Los Angeles"; $Cities[] = "New York"; $Cities[] = "Martinez"; //count number of elements $indexLimit = count($Cities); // print out every element for($index=0; $index < $indexLimit; $index++) { print("City $index is $Cities[$index]. <BR>\n"); } ?> </BODY> </HTML> City 0 is San Francisco. City 1 is Los Angeles. City 2 is New York. City 3 is Martinez. PHP Programming

การใช้อะเรย์หลายมิติ (Multidimensional Array) กำหนดชื่อตัวแปรแล้วตามด้วยเครื่อง [..][..] สำหรับอะเรย์สองมิติและ [.. ][.. ] [.. ] สำหรับอะเรย์สามมิติ $arr_2[1][1] = 4000; //$arr_2เป็นอะเรย์สองมิติ $arr_3[1][1][1] = 2000; //$arr_3เป็นอะเรย์สามมิติ PHP Programming

การใช้อะเรย์หลายมิติ (ต่อ) $dim = 3; for ($row=0; $row <= $dim; $row++) {   for ($column=0; $column <= $dim; $column++) {     $myarray2[$row][$column] = 4*$row + $column;     echo $myarray2[$row][$column]," ";   }   echo "<BR>\n"; } PHP Programming

อะเรย์แบบคู่ การเก็บข้อมูลในอะเรย์แบบนี้จะใช้กับข้อมูลที่จัดเก็บเป็นคู่ๆ ใช้ทำ lookup table PHP Programming

อะเรย์แบบคู่ (ต่อ) สมมุติว่า "red" ให้แทนค่า 0xff0000  "green" ให้แทนค่า 0x00ff00 และ "blue" ให้แทนค่า 0x0000ff โดยเก็บไว้ในอะเรย์ชื่อ $color_table คำสั่งที่ใช้ $color_table["red"]   = 0xff0000; $color_table["green"] = 0x00ff00; $color_table["blue"]  = 0x0000ff; $color_name= "red"; echo "value = ".$color_table[ $color_name]."<BR>\n";   PHP Programming

อะเรย์แบบคู่ (ต่อ) สร้างอะเรย์แบบคู่ได้โดยใช้ฟังก์ชัน array () $color_table = array(      "red"   => 0xff0000,      "green" => 0x00ff00,      "blue"  => 0x0000ff ); PHP Programming

ตัวอย่าง <? $word[a] = "Ant"; $word[b] = "Bat"; $word[c] = "Cat"; $word[d] = "Dog"; print( "$word[d] , $word[a]"); print ("<BR>"); print( "$word[a] , $word[b]"); ?> หรือ $word = array( "a" => "Ant" , "b" => "Bat" , "c" => "Cat" , "d" => "Dog" ); print( "$word[d] , $word[c]"); print( "$word[b] , $word[a]"); PHP Programming

ตัวอย่าง จากตัวอย่าง a,b, c, d จะเรียกว่า key และ Ant, Bat , Cat, Dog จะเรียกว่า Value การแสดงค่า key และ value ของอะเรย์แบบคู่จะใช้ฟังก์ชันชื่อ key และ value เช่น <? $keep_age = array( "wichai" => 15 , "jira" => 18 , "wittawat" => 30 , "chuchai" => 16 ); $name =key($keep_age); $age =current($keep_age); print ("Age of <u>$name</u> is $age"); ?> PHP Programming

เราสามารถสร้างอะเรย์แบบเชื่อมโยงเป็นสองมิติได้ เช่น <? $countries = array (   "thailand"  => array ( "zone" => "Asia", "D_NAME" => ".th"),   "malasia" => array ( "zone" => "Asia", "D_NAME" => ".my"),   "india"  => array ( "zone" => "Asia", "D_NAME" => ".in"),   "holland“ => array ( "zone" => "Europe", "D_NAME" => ".nl"),   "france" => array ( "zone" => "Europe", "D_NAME" => ".fr") ); echo "domain name=".$countries[ "thailand"]["D_NAME"]."<BR>\n"; ?> PHP Programming

การท่องไปในอะเรย์แบบคู่ ถ้าเราต้องการจะเข้าถึงข้อมูลแต่ละคู่ที่ถูกเก็บอยู่ในอะเรย์แบบคู่ จะใช้วิธีเรียกผ่านฟังก์ชัน each() และ list() ฟังก์ชัน each()จะท่องไปในอะเรย์และส่งค่ามาให้ฟังก์ชัน list() กำหนดให้กับตัวแปร 2 ตัว PHP Programming

ตัวอย่าง unset($a); $a = array( "a" => 10, "b" => 20, "c" => 30 ); while (list($key, $value) = each($a)) {   echo "$key=$value <BR>\n"; } จะได้ผลลัพธ์ a=10 ,b=20 ,c=30 PHP Programming

ตัวอย่าง <? $keep_age = array( "wichai" => 15 , "jira" => 18 , "wittawas" => 30 , "chuchai" => 16 ); while ( list( $name , $age ) = each( $keep_age ) ){ print(" $name = $age<br>"); } ?> PHP Programming

ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับอะเรย์

ฟังก์ชัน sort รูปแบบการใช้งาน void sort (array arr); เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเรียงลำดับรายการข้อมูลในอะเรย์นั้นโดยจัดเรียงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก PHP Programming

ตัวอย่าง $sort = array(50,40,30,20); sort($sort); for($r = 0; $r < count($sort);$r++){ echo “$sort[$r]<br>”; } 20 30 40 50 PHP Programming

ฟังก์ชัน asort รูปแบบการใช้งาน void asort (array arr); เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเรียงลำดับข้อมูลในอะเรย์แบบคู่ โดยจัดเรียงข้อมูลจากค่า Value ที่เก็บไว้จากน้อยไปหาค่ามาก PHP Programming

ตัวอย่าง <? $keep_age = array( "wichai" => 15 , "jira" => 18 , "wittawas" => 30 , "chuchai" => 16 ); asort( $keep_age ); do{ $name = key( $keep_age ); $age = current( $keep_age ); print "age of $name is $age<br>"; }while( next( $keep_age) ); ?> PHP Programming

ฟังก์ชัน ksort รูปแบบการใช้งาน void ksort (array arr); เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเรียงลำดับข้อมูลในอะเรย์แบบคู่ โดยจัดเรียงข้อมูลจากค่า key ที่เก็บไว้จากน้อยไปหาค่ามาก PHP Programming

ตัวอย่าง <? $keep_age = array( "wichai" => 15 , "jira" => 18 , "wittawas" => 30 , "chuchai" => 16 ); ksort( $keep_age ); do{ $name = key( $keep_age ); $age = current( $keep_age ); print "age of $name is $age<br>"; }while( next( $keep_age) ); ?> PHP Programming

ฟังก์ชัน max, min รูปแบบการใช้งาน max(array arr ); min(array arr ); <? $arr = array( 5,6,7,4,3,2,10,3,440 ); echo max( $arr) ,"<br>"; echo min( $arr) ,"<br>"; ?> PHP Programming

$test1=array(); //สร้างอะเรย์ว่าง $test1 รูปแบบการใช้งาน array array( ); คำสั่งที่ใช้ในการสร้างอะเรย์โดยเราสามารถกำหนดค่าของดัชนีและค่าของข้อมูลไปพร้อมกับการสร้างอะเรย์ $test1=array(); //สร้างอะเรย์ว่าง $test1 PHP Programming

ฟังก์ชัน array_walk ฟังก์ชัน array_walk รูปแบบการใช้งาน int array_walk(array arr,string func); คำสั่งที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลที่เก็บอยู่ในรูปแบบของอะเรย์โดยต้องการอากิวเมนต์สองตัวคือ 1. อะเรย์ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลที่เก็บไว้ในอะเรย์นั้น 2. ชื่อของฟังก์ชันที่ต้องการเรียกใช้และต้องมีการสร้างฟังก์ชันโดยมีการกำหนดตัวแปรพารามิเตอร์คอยรับค่า PHP Programming

ฟังก์ชัน count รูปแบบการใช้งาน void count (array arr); คำสั่งที่ใช้นับจำนวนของข้อมูลที่เก็บอยู่ภายในรายการข้อมูลของอะเรย์นั้นว่ามีจำนวนข้อมูลทั้งหมดเท่าไร PHP Programming

ฟังก์ชัน current รูปแบบการใช้งาน mixed current(array arr); เป็นคำสั่งที่ใช้ในการคืนค่าของข้อมูลที่ตำแหน่ง พอยน์เตอร์(pointer)ชี้อยู่(ภายในรายการข้อมูลของอะเรย์จะมี pointer เป็นตัวระบุตำแหน่งปัจจุบันของข้อมูลนั้น) PHP Programming

ตัวอย่าง $sort=array(50,40,30,20); echo current($sort),"br>"; //แสดงค่า 50 next($sort);//เลื่อน pointer ไปยังข้อมูลตัวต่อไป echo current($sort); //แสดงค่า 40 PHP Programming

ฟังก์ชัน each รูปแบบการใช้งาน array each (array arr); คำสั่งที่ใช้ในการอ่านค่าข้อมูลของอะเรย์ทีละตัว เมื่ออ่านแล้ว pointer ที่ชี้ตำแหน่งของข้อมูลก็จะเลื่อนไปยังข้อมูลตัวถัดไป และค่าที่อ่านได้นั้นจะเก็บไว้ในอะเรย์อีกที PHP Programming

ตัวอย่าง $sort = array(5,40,30,20); $get = each($sort); /*ค่าใน $sort มาหนึ่งค่าแล้วเลื่อน pointer ไปยังข้อมูลตัวถัดไปโดย $get จะเป็นตัวแปรอะเรย์ที่รับค่าที่อ่านได้ */ echo “$get[0] => $get[1] <br>”; echo “$get[key] => $get[value]”; PHP Programming

ฟังก์ชัน end รูปแบบการใช้งาน void end (array arr); เป็นคำสั่งที่ใช้เลื่อน pointer ที่ชี้ตำแหน่งที่อยู่ของข้อมูลปัจจุบันไปยังตำแน่งที่อยู่สุดท้ายของรายการข้อมูลของอะเรย์นั้น PHP Programming

ตัวอย่าง $sort = array ( 50, 40, 30, 20 ); echo current($sort).”<br>”// แสดงค่า 50 end($sort); // เลื่อน pointer ไปยังข้อมูลตัวสุดท้าย echo current($sort); // แสดงค่า 20 PHP Programming

ฟังก์ชัน key รูปแบบการใช้งานฟังก์ชัน mixed key (array arr); เป็นคำสั่งที่ใช้ในการตรวจสอบว่าตำแหน่งปัจจุบันอยู่ที่ pointer ชี้ข้อมูลในอะเรย์อยู่นั้นดัชนีของข้อมูลนั้นมีค่าเป็นอะไร PHP Programming

ตัวอย่าง $sort = array (“start”=>50,40,30,”stop”=>20); echo key($sort).”<br>”; // แสดงค่าดัชนีปัจจุบันที่ pointer ชี้อยู่ end($sort); // เลื่อน pointer ไปยังข้อมูลตัวต่อไป echo key($sort); Start stop PHP Programming

ฟังก์ชัน list รูปแบบการใช้งาน void list (var1,var2,…); PHP Programming

ตัวอย่าง $arr = array(“A”=>10,”B”=>20,”C”=>30); while (list($key,$data)=each($arr)){ echo “$key =>$data<br>”; } A =>10 B =>20 C =>30 PHP Programming

ฟังก์ชัน next รูปแบบการใช้งาน mixed next(array arr) เป็นคำสั่งที่ใช้เลื่อน pointer ให้ชี้ไปยังข้อมูลตัวถัดไปในรายการข้อมูลของอะเรย์ PHP Programming

ตัวอย่าง $sort = array(50,40,30,20); echo current($sort).:”<br>”; // แสดงค่าข้อมูลปัจจุบัน next($sort); // เลื่อน pointer ไปยังข้อมูลตัวต่อไป echo current($sort); // แสดงค่าข้อมูลหลังจากเลื่อน pointer 50 40 PHP Programming

ฟังก์ชัน prev รูปแบบการใช้งาน mixed prev (array arr) เป็นคำสั่งที่ใช้เลื่อน pointer ให้ชี้ไปยังข้อมูลตัวก่อนหน้านี้ที่มีการเลื่อน pointer มาในรายการข้อมูลของอะเรย์ PHP Programming

ตัวอย่าง 50 40 $sort = array(50,40,30,20); echo current($sort).”<br>”; // แสดงค่าข้อมูลปัจจุบัน next($sort); // เลื่อน pointer เดินหน้าไปยังข้อมูลตัวต่อไป echo current($sort).”<br>”; // แสดงค่าข้อมูลหลังจากเลื่อน pointer prev($sort); // เลื่อน pointer ถอยหลังไปยังข้อมูลตัวก่อนหน้านี้ echo current($sort); // แสดงค่าข้อมูลหลังจากเลื่อน pointer 50 40 PHP Programming

ฟังก์ชัน reset รูปแบบการใช้งาน void reset (array arr) เป็นคำสั่งที่กำหนดค่าเริ่มต้นของ pointer ใหม่โดยให้มาเริ่มต้นที่ข้อมูลตัวแรกของรายการข้อมูลทั้งหมดไม่ว่าตอนนั้น pointer จะชี้อยู่ที่ข้อมูลใดก็ตาม PHP Programming

ตัวอย่าง $sort = array(50,40,30,20); echo current($sort).”<br>”; // แสดงค่าข้อมูลปัจจุบัน next($sort); // เลื่อน pointer เดินหน้าไปยังข้อมูลตัวต่อไป echo current($sort).”<br>”; //แสดงค่าข้อมูลหลังจากเลื่อน pointer echo current($sort).”<br>”; // แสดงค่าข้อมูลหลังจากเลื่อน pointer reset($sort); // สั่งให้ pointer ไปเริ่มต้นที่ข้อมูลตัวแรกของรายการ echo current($sort); // แสดงค่าข้อมูลหลังจากใช้คำสั่ง reset PHP Programming

ฟังก์ชัน sizeof รูปแบบการใช้งาน int sizeof (array arr); การทำงานของคำสั่งนี้จะเหมือนกับคำสั่ง count PHP Programming