Learning Organization

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบบูรณาการ
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
Information systems; Organizations; Management; Strategy
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
Chapter 11 : System Implementation
การกระทำทางสังคม (Social action)
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ความหมายของการวางแผน
การปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
Lesson 10 Controlling.
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
Do Research Prabhas Chongstitvatana Chulalongkorn University 13 September 2013
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
Information System Project Management
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
พฤติกรรมองค์การ ( Organization Behavior )
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
การบริหารคุณภาพองค์กร
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
CHAPTER 1 Major Sources of Errors in Numerical Methods
Knowledge Management (KM)
THE MANAGEMENT AND CONTROL OF QUALITY
แก้ปัญหาใน AUTO CAD ที่ถูกถามบ่อย
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
องค์กรแห่งการเรียนรู้. ความหมาย องค์กรที่มีพนักงานทุกคนทุกระดับ พัฒนาขีด ความสามารถในการสร้างผลงานที่ดีให้กับ องค์กรด้วยใจรัก ( วรภัทร์ ภู่เจริญ, หน้า.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
พฤติกรรม / การกระทำที่ สะท้อนความมีคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ดร. สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก. พ. สำนักงาน ก. พ.
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
สรุปที่เรียนมา วิเคราะห์การบ้านงานกลุ่ม
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
II > วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
(Strategy Implementation)
กระบวนการวิจัย Process of Research
วิทยากร : อ.กิตตินันท์ ศรีหฤทัยนิรมล
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
การประเมินผลการปฏิบัติราชการแนวใหม่
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เทคโนโลยีกับศาสตร์ จากความหมายของคำว่า "วิทยาศาสตร์" และความหมายของคำว่า "เทคโนโลยี" ที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า วิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่นำไปใช้อธิบายได้ว่า.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
16. กลยุทธิ์ที่มุ่งเน้น ความสำเร็จ. Background การเปลี่ยนทัศนคติ จาก แรงงาน เป็นผลการปฏิบัติงาน แรงจูงใจบนพื้นฐานความเข้าใจ เพื่อบรรลุสู่ความสำเร็จ แบบญี่ป่น.
การจัดการ (Management)
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
Customer Relationship Management (CRM)
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Learning Organization Double-Loop Learning

ประวัติอันเกี่ยวกับแนวความคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ แนวคิด “องค์การแห่งการเรียนรู้” (Learning Organization)  เริ่มมาจากงานเขียนของ  Chris Argyris ศาสตราจารย์ด้านจิตวิทยา ที่เสนอแนวความคิดด้านการศึกษาและพฤติกรรมองค์การของมหาวิทยาลัยฮาร์วาด และในปี  1978 Chris Argyris ได้เขียนผลงานร่วมกับ Donald Schon ศาสตราจารย์ด้านปรัชญา แห่ง MIT  ซึ่งถือว่าเป็นตำราเล่มแรกที่เขียนเกี่ยวกับ  Learning Organization  โดยใช้คำว่า  “การเรียนรู้ขององค์การ” (Organization Learning หรือ OL) ซึ่งหมายถึง  การเรียนรู้ของคนทั้งหลายที่เกิดขึ้นในองค์การ  

Chris Argyris Influenced: the relationship of people and organizations, organizational learning and action research Personality and Organization (1957) Integrating the Individual and the Organization (1964) Theory in Practice, 1974 Organizational Learning, 1978 Organizational Learning II, 1996

Chris Argyris “Success” largely depend on learning “Knowledge stems from learning stimulated by a perceived problem” (Argyris and Schon (1996) and Popper (1997, 1999)) Misunderstand “Learning” Narrow definition – “problem solving” Need to increase motivation for learning (i.e. computer bug) Defensive routine, defensive reasoning (i.e. business consultant) Blame outside factor Block learning No improvement

Defensive Routine, Argyris Single-Loop Learning (like-thermostat) Organization Model I = theory-in-action or know-how เน้นการทำงาน หรือวิธีทำ Double-Loop Learning Organization Model II = theory-in-use or know-why เน้นการอธิบาย Ice Breaking Techniques การกำจัดความเย็นชาระหว่างบุคคล Balanced Scorecard สร้าง Feedback Loop ในระดับองค์กร Argyris, Schon, “On Organizational Learning,” 1978

การเรียนรู้แบบลูปเดียว หรือ วงรอบเดียว การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อองค์กรเผชิญกับปัญหาและความผิดพลาดทางการจัดการที่มุ่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้า โดยมีการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังรูป เมื่อปัญหาเกิดขึ้น จะดูผลที่เกิดตามมา (Consequence) แล้วอาศัยความรู้ในอดีตที่มีอยู่ในตน มาทำการปรับเปลี่ยนการกระทำ (Action Strategy) เพื่อแก้ไขปัญหาข้างต้น

Single-Loop Learning Focus on “know-how”, “performance”, “Doing the right thing” ( เน้นการทำงาน หรือวิธีทำ) Design action base on basic value (Universal human tendency) To remain in unilateral control To max. “winning” and min. “losing” To suppress negative feeling To be as “rational” as possible Purpose: avoid embarrassment or threat, feeling vulnerable or incompetent Consequences: defensiveness

Single loop การเรียนรู้แบบลูปเดียว ขั้นที่ 2 เปรียบเทียบข้อมูลสิ่งแวดล้อมจากขั้นที่ 1 กับวิธีการปฏิบัติ ธรรมเนียมการทำงานที่มีอยู่ในตน (การเรียนรู้ในอดีต) ขั้นที่ 3 ปรับการทำงานให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้น แบบ Single loop จะเหมาะกับงานประจำหรือการตรวจสอบหาข้อผิดพลาดจากที่เคยทำมาเท่านั้น ยังอยู่ในกรอบเดิม

การเรียนรู้แบบสองลูป หรือ สองวงรอบ เป็นการเรียนรู้เพื่อช่วยแก้ปัญหาและสนับสนุนการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิผลที่เป็นรูปแบบขององค์กรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งก่อให้เกิดการสร้างการเรียนรู้และเป็นที่มาของแบบจำลองทางธุรกิจใหม่ที่สอดคล้องกับความซับซ้อนของการเปลี่ยนแปลงของสถาพแวดล้อมในการแข่งขัน เมื่อปัญหาเกิดขึ้น จะดูผลที่เกิดตามมา (Consequence) แล้วจึงศึกษาตัวแปรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง(Governing Variable) จากนั้นจึงอาศัยความรู้ในอดีตที่มีอยู่ในตนเพื่อดูว่าการการดำเนินการใด มีความเหมาะสม แล้วจึงนำมาปรับเปลี่ยนการกระทำ (Action Strategy) เพื่อแก้ไขปัญหาข้างต้น

Double-Loop Learning Focus on “know-why”, “Improvement”, “Doing thing right” (เน้นการอธิบาย) Design action base on revised governing variables Change individual behavior and assumption Value “feed back” and learning – from reflexive Purpose: reduce blindness, inconsistency, increase long-run effectiveness by continuous test assumptions and beliefs (public testing). Consequences: minimize defensiveness

Double loop การเรียนรู้แบบสองลูป การเรียนรู้แบบ Double loop ในขั้นที่ 1, 2 และ 3 เหมือนกับการเรียนรู้แบบ Single loop แต่ต่างกันที่ขั้น 2 ซึ่งเป็นการตั้งคำถามว่า เพียงธรรมเนียมการปฏิบัติงานที่ทำอยู่มีความเหมาะสมหรือไม่ ก่อนที่จะไปหาวิธีการแก้ไข  ในระบบราชการจะไม่มีขั้นตอนนี้ เป็นเพียงการทำเพื่อสนองนโยบายเท่านั้น การเรียนรู้ขององค์การเสมือนสมองจะเป็นแบบ Double loop

Single loop learning vs. Double loop learning