บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อ
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
Revision Problems.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
การวางแผนกลยุทธ์.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
บทที่ 4 งบการเงิน.
การเปลี่ยนแปลงทางบัญชี และการแก้ไขข้อผิดพลาด
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ระบบบัญชี.
งบลงทุน Capital Budgeting
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
หมวด2 9 คำถาม.
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
System Development Lift Cycle
บทที่ 3 Planning.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
ต้นทุนการผลิต.
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
หลักการเขียนโครงการ.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
การสังเคราะห์ (synthesis)
การเขียนโครงการ.
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
กระบวนการในการประกอบธุรกิจของตนเอง
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การเริ่มต้นธุรกิจ SMEs
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม 3.1 กระบวนการวางแผนฟาร์ม 3.2 การผลิตและต้นทุนการผลิตของสินค้าเกษตร 3.3 การประเมินผลการดำเนินงานของฟาร์ม หนังสือ/เอกสารอ่านประกอบ 1. อารี วิบูลย์พงศ์. 2535. เศรษฐศาสตร์สำหรับนักเกษตร: หลักและวิธีการ บทที่ 4-8 2. นราทิพย์ ชุติวงศ์. 2543. หลักเศรษฐศาสตร์ 1: จุลเศรษฐศาสตร์. 3. หลักการจัดการฟาร์ม โดย ..........

3.1 กระบวนการวางแผนฟาร์ม

กระบวนการวางแผนฟาร์ม กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจที่มีผลต่อกำไรของธุรกิจฟาร์มภายใต้ความเสี่ยงภัย ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร เกษตรกร/ผู้จัดการฟาร์ม ผลิตสินค้าเกษตร กระบวนการตัดสินใจ: ผลิต ซื้อ/ขายฯ รายได้/กำไรของฟาร์ม

ปัญหาที่ผู้จัดการฟาร์มต้องตัดสินใจ จะผลิตอะไร  จะใช้ปัจจัยการผลิตที่มี ผลิตอะไรบ้าง พืชอะไร สัตว์อะไร 2. จะผลิตอย่างไร  วิธีการผลิต/เทคโนโลยี ที่จะใช้ 3. จะผลิตมากน้อยเท่าไร  จะจัดสรรปัจจัยการผลิตที่มี หรือที่สามารถหาได้ ไปใช้ผลิตผลผลิตแต่ละชนิดมากน้อยเพียงใด 4. ควรซื้อ/หา ปัจจัยการผลิต เมื่อไร ที่ไหน 5. จะขายผลผลิตเมื่อไร ที่ไหน 6. จะเปลี่ยนแปลงระดับการผลิต และใช้ปัจจัยการผลิตอย่างไร เมื่อสภาวะทางเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป

ขั้นตอนในการวางแผนจัดการฟาร์ม กำหนดเป้าหมายของฟาร์ม: อาจมีหลายเป้าหมาย 2. รู้และเข้าใจในปัญหาของฟาร์ม 3. หาข้อมูลเพื่อวางแผน ตัดสินใจ 4. พิจารณาทางเลือก 5. ตัดสินใจ 6. ลงมือปฏิบัติตามที่ตัดสินใจ 7. รับผิดชอบต่อการตัดสินใจ 8. ประเมินการตัดสินใจ

ลักษณะของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ ลักษณะของปัญหาที่ต้องตัดสินใจมีหลายลักษณะ ลำดับความสำคัญของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ: เท่า ไม่เท่า 2. ความถี่ของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ : บ่อย ไม่บ่อย 3. ความเร่งด่วนของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ 4. ความยืดหยุ่นของปัญหาที่ต้องตัดสินใจ 5. โอกาสหรือทางเลือกในการตัดสินใจสำหรับปัญหาหนึ่งๆ : ทางเดียว หลายทาง

การตั้งเป้าหมายฟาร์ม เป้าหมายฟาร์ม: เป็นจุดหมายปลายทางที่ผู้ผลิต/ผู้จัดการฟาร์มกำหนดไว้ แล้วยินดีที่จะทำงานและใช้ความพยายามที่จะให้ได้มาซึ่งความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งเอาไว้

คุณลักษณะของเป้าหมายฟาร์ม เป้าหมายต้องชัดเจน 2. เป้าหมายต้องเป็นสิ่งที่กำหนดได้และมีความเป็นไปได้ 3. เป้าหมายเป็นสิ่งที่ต้องการความพยายาม 4. เป้าหมายต้องมีวันครบกำหนดชัดเจน 5. เป้าหมายต้องวัดได้ 6. เป้าหมายบางอย่างสามารถทำได้ง่ายกว่า  ควรทำเป้าหมายที่ง่ายให้ได้ก่อน เพื่อสร้างกำลังใจ 7. เป้าหมายควรมีความยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ 8. บางเป้าหมายอาจไม่สามารถบรรลุได้  สร้างประสบการณ์ การเรียนรู้  นำไปสู่การตั้งเป้าหมายและปฏิบัติใหม่

ขั้นตอนการกำหนดเป้าหมายฟาร์ม ขั้นสะสมความคิด หาเวลาตั้งเป้าหมาย และวางเป้าหมาย ประเมินงานที่ได้ทำมาในอดีต ตรวจสอบเป้าหมาย พิจารณาทางเลือกที่มีอยู่ในปัจจุบัน จัดทำรายการใหม่ กำหนดเป้าหมายระยะสั้น ปานกลาง และยาว เช็คว่าเสริมกัน ขัดแย้งกัน หรืออิสระต่อกัน ปรึกษา หาข้อตกลง และสรุป

เครื่องมือในการวางแผน จัดการ และประเมินผลการดำเนินงานฟาร์ม หลัก/ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์: ทฤษฎีว่าด้วยการผลิต: กฎว่าด้วยผลลดน้อยถอยลง หลักผลตอบแทนเพิ่มเท่ากัน ค่าเสียโอกาส การใช้ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน 2. บัญชีฟาร์ม: งบดุล งบกระแสรายวัน (รายรับ-รายจ่าย) งบกำไรขาดทุน 3. งบประมาณฟาร์ม: งบประมาณทั้งหมด งบประมาณบางส่วน 4. การวิเคราะห์โครงการ