กอบกุล รายะนาคร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce Law)
Advertisements

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (ICCPR)
สหภาพยุโรปในฐานะมหาอำนาจระดับกลางและบทบาทต่อการเมืองโลก
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
รายงาน เรื่อง พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
เขตแดน และ เขตอำนาจรัฐ
8. นโยบายรักษาความมั่นคงของรัฐ
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
แนะนำหนังสือวิชาการ ที่น่าอ่าน ***********
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสลัดอากาศ
การรุกราน (AGGRESSION)
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ...
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 : การรักษาความมั่นคงของรัฐ.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
โดย พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์ ผู้ช่วยเจ้ากรมพระธรรมนูญ
หลักการยอกยาการ์ตา คำปรารภ
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
คำถามสำคัญของกฎหมายสิทธิมนุษยชน
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
บทที่ 1 วิวัฒนาการและลักษณะสำคัญ ของกฎหมายระหว่างประเทศ
จารีตประเพณีและพหุนิยมทางกฎหมาย
Globalization and the Law III
การป้องกันประเทศ 1 พม่า
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. ๒๕๕๐.
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
หลักละทฤษฎีกฎหมายอาญา เรื่อง เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสัย โดย
สถาบันการเมืองการปกครอง
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ก. ประธานาธิบดีแฮรี่ เอช ทรูแมน ข. ประธานาธิบดีธอมัส วูดโรว์ วิลสัน
ความสัมพันธ์ ปัญหาระหว่างไทยกับกัมพูชา: ผลกระทบต่อความร่วมมือระหว่างประเทศ ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา.
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ครูจงกล กลางชล 1. สรุปแนวคิดเกี่ยวกับ พัฒนาการ ด้าน ความสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศของไทย โดยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ได้ 2.
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สิทธิในการทำงานของคนลาว ในประเทศไทย The Rights to Work of Lao in Thailand บุญมี ราชมีไช สาขากฎหมายระหว่างประเทศคณะนิติศาสตร์ 28 พฤศจิกายน 2550.
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
การแทรกแซง การที่รัฐใดรัฐหนึ่งเข้าไปเกี่ยวข้อง โดยบังคับรัฐอื่นให้กระทำในสิ่งที่ ตนต้องการ การแทรกแซงย่อม เป็นการคุกคามอำนาจอธิปไตย ของรัฐอื่น ซึ่งเป็นการละเมิด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กอบกุล รายะนาคร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บทที่ 12 กฎหมายว่าด้วยการใช้กำลัง (International Law on the Use of Force) กอบกุล รายะนาคร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พัฒนาการกฎหมายก่อนมี UN ตราบจนต้นศตวรรษที่ 20 ไม่มีกฎหมายห้ามการทำสงคราม แต่มีหลักกฎหมายที่ควบคุมการใช้กำลัง หลักการทำสงครามที่ชอบธรรม (Just War) หลักการตอบโต้โดยชอบด้วยกฎหมาย (Reprisal) หลักสิทธิในการป้องกันตนเอง (Right of Self-Defence)

หลักการทำสงครามที่ชอบธรรม ได้รับการสนับสนุนจากนักคิดในสมัยต่างๆ เช่น St. Augustine ในศตวรรษที่ 5 St. Thomas Aquinas ในศตวรรษที่ 13 Grotius ในศตวรรษที่ 17 กล่าวถึงการทำ Just War ว่าเป็นการใช้กำลังเพื่อป้องกันตนเอง เพื่อคุ้มครองทรัพย์สินและพลเมือง ตลอดจนเพื่อลงโทษการกระทำผิดของอีกรัฐหนึ่ง

หลักการตอบโต้โดยชอบด้วยกฎหมาย คดี Naulilaa Case ค.ศ. 1928 (Portugal v. Germany) ประกอบด้วยหลัก 3 ประการ คือ มีการกระทำผิดกฎหมายระหว่างประเทศ มีคำร้องขอให้แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหาย แต่มิได้รับการตอบสนอง การตอบโต้จะต้องไม่เกินกว่าเหตุ ในปัจจุบัน การตอบโต้ หรือ reprisal ถือว่าไม่ชอบด้วยกฎหมายระหว่างประเทศ

หลักสิทธิในการป้องกันตนเอง Caroline Case (1837) เอกสารตอบโต้ระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ การใช้สิทธิในการป้องกันตนเอง หมายถึง การใช้กำลังเมื่อมีความจำเป็นขณะนั้น เป็นความจำเป็นอย่างท่วมท้น (overwhelming) และไม่มีหนทางอื่นให้เลือก ไม่มีเวลาที่จะเจรจา และเป็นการใช้กำลังพอสมควร

กติกาสันนิบาตชาติ ค.ศ. 1918 รัฐสมาชิกมีหน้าที่ต้องนำข้อพิพาทเข้าสู่กระบวนการอนุญาโตตุลาการ หรือ การระงับข้อพิพาททางศาล หรือ การไต่สวน โดยคณะมนตรี ห้ามมิให้ทำสงครามจนกว่าจะพ้น 3 เดือนหลังจากมีคำวินิจฉัยของอนุญาโตตุลาการ หรือ ศาล หรือได้รับรายงานจากคณะมนตรี รัฐสมาชิกตกลงที่จะไม่ทำสงครามกับสมาชิกที่ได้ยอมปฏิบัติตามคำวินิจฉัย หรือรายงานที่ได้รับการรับรองเป็นเอกฉันท์แล้วจากคณะมนตรี

สนธิสัญญาทั่วไปว่าด้วยการยกเลิกสงคราม (General Treaty for the Renunciation of War หรือ the Kellog-Briand Pact) ค.ศ. 1928 รัฐภาคีประณามการทำสงคราม และตกลงที่จะไม่ใช้สงครามเป็นเครื่องมือในการดำเนินนโยบายด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

กฎบัตรสหประชาชาติ (UN Charter, Chapter 7) Article 2 (4) ห้ามมิให้รัฐคุกคามหรือใช้กำลังต่อกันและกัน “ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รัฐสมาชิกทั้งปวงจักต้องละเว้นการคุกคาม หรือการใช้กำลังต่อบูรณภาพแห่งอาณาเขต หรือเอกราชทางการเมืองของรัฐใดๆ หรือการกระทำในลักษณะการอื่นใดที่ไม่สอดคล้องกับความมุ่งหมายของสหประชาชาติ”

ข้อยกเว้นในการใช้กำลัง การใช้สิทธิป้องกันตนเอง (ตามหลักจารีตประเพณี และตาม Article 51 UN Charte การใช้มาตรการรักษาสันติภาพร่วมกันภายใต้ระบบของ UN (กลไกการรักษาสันติภาพภายใต้ Chapter 7)

การใช้สิทธิป้องกันตนเองตาม Article 51 “ไม่มีข้อความใดในกฎบัตรฉบับปัจจุบันอันจักรอนสิทธิประจำตัวในการป้องกันตนเองโดยลำพังตนหรือโดยร่วมกัน หากการโจมตีโดยกำลังอาวุธบังเกิดแก่สมาชิกของสหประชาชาติ จนกว่าคณะมนตรีความมั่นคงจะได้ดำเนินมาตรการที่จำเป็นเพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ ................”

ประเด็นคำถามเกี่ยวกับการใช้สิทธิป้องกันตนเอง รวมถึงกรณีการป้องกันตนเองล่วงหน้า (anticipatory self-defence หรือ pre-emptive self-defence) หรือไม่ ? รวมถึงการคุ้มครองชีวิตของพลเมือง และทรัพย์สินในต่างแดนหรือไม่ ?

กลไกของรักษาสันติภาพของ UN บทบาทหลักอยู่ที่คณะมนตรีความมั่นคง (Security Council – SC) ตาม Chapter VII ของ UN Charter Article 39 – ก่อนที่ SC จะดำเนินมาตรการใดๆจะต้องมีความเห็นก่อนว่าเกิดการคุกคามต่อสันติภาพ การละเมิดสันติภาพ หรือการกระทำการรุกราน (aggression) หรือไม่

อะไรคือ “Aggression” ตามนิยามของมติของสมัชชาใหญ่ ค.ศ. 1974 รวมความถึง การใช้กำลังอาวุธต่อรัฐอื่น การโจมตีด้วยกำลังทหาร หรือกำลังอาวุธ การปิดล้อมเมืองท่า การส่งกองกำลังเข้าไปปฏิบัติการทหารในประเทศอื่น การยินยอมให้รัฐอื่นละเมิดดินแดนเพื่อกระทำการรุกรานรัฐที่สาม

กลไกของรักษาสันติภาพของ UN (2) Article 40 – SC สามารถดำเนินมาตรการชั่วคราวเพื่อป้องกันไม่ให้สถานการณ์ทวีความร้ายแรงยิ่งขึ้น Article 41 – SC อาจวินิจฉัยและเรียกร้องให้สมาชิกใช้มาตรการอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ อาจรวมถึงการตัดความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์ ทางโทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูตด้วย

กลไกของรักษาสันติภาพของ UN (3) Article 42 – หากเห็นว่ามาตรการตาม Article 41 ไม่เพียงพอ SC อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น ซึ่งอาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติการอย่างอื่นโดยใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกสหประชาชาติ

ข้อจำกัดของการรักษาสันติภาพโดย UN กลไกของสหประชาชาติในการรักษาสันติภาพมีข้อจำกัดทั้งด้านการเมืองและงบประมาณ การใช้สิทธิยับยั้ง (veto) ของสมาชิกประเภทถาวรของคณะมนตรีความมั่นคง มาตรการไม่ใช้กำลัง เช่น การลงโทษทางเศรษฐกิจ (economic sanctions) ใช้เวลานานกว่าจะเห็นผล หรืออาจไม่ได้ผล และมักก่อให้เกิดปัญหาด้านมนุษยธรรม เช่น การลงโทษแอฟริกาใต้ ,โรดีเซีย, อัฟกานิสถาน หรือ อิรัก