งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
จัดทำโดย นายสุวิทย์ ศิริ รหัสนักศึกษา คณะวิทยาลัยการบริหารและจัดการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

2 พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลบังคับใช้แล้ว วันพุธที่ 18 กรกฎาคม 2550

3 เจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อกำหนด
เจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อกำหนด ฐานความผิด และบทลงโทษ อำนาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ หน้าที่ของผู้ให้บริการ

4 โครงสร้างของพระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ประกอบด้วยมาตราต่างๆรวมทั้งสิ้น 30 มาตรา แบ่งได้ 3 ส่วน คือ ส่วนทั่วไป มาตราที่ 4 ผู้รักษาการ มาตราที่ 3 คำนิยาม มาตราที่ 2 วันบังคับใช้กฎหมาย มาตราที่ 1 ชื่อกฎหมาย

5 2 . หมวด 1 บทบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มีทั้งสิ้น 13 มาตรา ดังนี้
มาตราที่ 5 การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตราที่ 6 การลวงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึง และนำเปิดเผยโดยมิชอบ มาตราที่ การเข้าถึงข้อมูลโดยมิชอบ มาตราที่ การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตราที่ การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ

6 หมวด 1 มาตราที่ 10 การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
มาตราที่ 10 การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตราที่ 11 การสแปมเมล์ มาตราที่ การกระทำความผิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือส่งผลกระทบต่อความมั่งคงของประเทศ มาตราที่ การจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด มาตราที่ การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือเผยแพร่เนื้อหาที่ไม่เหมาะสม มาตราที่ การรับผิดของผู้ให้บริการ มาตราที่ การเผยแพร่ภาพจาการตัดต่อหรือดัดแปลงให้ผู้อื่นถูกดูหมิ่นหรืออับอาย มาตราที่ การกระทำความผิดนอกราชอาณาจักรซึ่งต้องรับโทษราชอาณาจักร

7 หมวด 2 เป็นการกำหนดเกี่ยวกับอำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ และกำหนดให้ผู้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์และต้องให้ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการ ส่งมอบข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ บทบัญญัติในหมวดนี้มีทั้งหมด 13 มาตรา ดังนี้ มาตราที่ 18 อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ มาตราที่ 19 การตรวจสอบการใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ มาตราที่ 20 การใช้อำนาจในการบล็อก (Block) เว็บไซต์ที่มีเนื้อหากระทบความมั่นคงหรือขัดต่อความสงบ เรียบร้อย มาตราที่ 21 การห้ามเผยแพร่หรือจำหน่ายชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ มาตราที่ 22 ห้ามไม่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลที่ได้ตามมาตรา 18 มาตราที่ 23 พนักงานเจ้าหน้าที่ประมาทจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นรู้ข้อมูล มาตราที่ 24 ความรับผิดของผู้ล่วงรู้ข้อมูลของผู้ให้บริการที่พนักงาน เจ้าหน้าที่ที่ได้มาตามมาตรา 18 ละนำไปเผยแพร่

8 หมวด 2 มาตราที่ 25 ห้ามมิให้พยานรับฟังหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ
มาตราที่ 25 ห้ามมิให้พยานรับฟังหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ มาตราที่ หน้าที่ของผู้ให้บริการในการเก็บข้อมูลจราจรคอมพิวเตอร์และความรับผิด หากไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ มาตราที่ การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ มาตราที่ การรับร้องทุกข์กล่าวโทษ จับ ควบคุม ค้น และกำหนดระเบียบ แนวทางปฏิบัติ มาตราที่ การปฏิบัติหนาที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่

9 สาระสำคัญของพระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ .ฐานความผิด
สาระสำคัญของพระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ .ฐานความผิด การรักษาความลับ (Confidentiality) ความครบถ้วนและถูกต้อง(Integrity) ความพร้อมใช้งาน (Availability)

10 ความผิดในหมวด 1 เป็นความผิดที่ไม่สามารถยอมความได้ เนื่องจากผลของการกระทำความผิด หรือก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นนั้น อาจไม่เพียงกระทบต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งเท่านั้น แต่อาจจะกระทบต่อสังคม หรือก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจในวงกว้าง รวมทั้งหาตัวผู้กระทำผิดได้ยก ยกเว้นมาตร 16 ซึ่งเป็นความผิดที่กระทบเพียงบุคคลเดียว คู่คดีสามารถไกล่เกลี่ยกันได้

11 ฐานความผิดตามมาตราต่างๆในหมวด 1 มีดังนี้
มาตรา 5 การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใช้โปรแกรมสปายแวร์ (Spyware) ขโมยข้อมูลรหัสผ่านส่วนบุคคลของผู้อื่น เพื่อใช้บุกรุกเข้าไปในระบบ คอมพิวเตอร์ของงผู้นั้นผ่านช่องโหว่ของระบบดังกล่าวโดยไม่ได้รับอนุญาต

12 มาตรา 6 การล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึง และนำไปเปิดเผยโดยมิชอบ
การล่วงรู้มาตรการความปลอดภัยการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรม Keystroke แอบบันทึกการกดรหัสผ่านของผู้อื่น แล้วนำไปโพสไว้ในเว็บบอร์ดต่างๆ เพื่อให้บุคคลที่สามใช้เป็นรหัสผ่านเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ของผู้เป็นเหยื่อ มาตรา 7 การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ เช่น การกระทำใดๆตามที่กล่าวไว้ข้างต้นเพื่อเข้าถึงแฟ้มข้อมูล (File) ที่เป็นความลับโดยไม่ได้รับอนุญาต มาตรา 8 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ คือ การดักรับข้อมูลของผู้อื่นในระหว่างการส่ง เช่น การใช้สนิฟเฟอร์ (Sniffer) แอบดักแพ็กเก็ต(Packet) ซึ่งเป็นชุดข้อมูลที่เล็กที่สุดที่อยู่ระหว่างการ ส่งไปให้ผู้รับ

13 มาตรา 9 และ 10 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
มาตรา 9 และ 10 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ การรบกวนข้อมูลหรือระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใช้โปรแกรมไวรัสเพื่อส่งอีเมล์( ) จำนวนมหาศาลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ผู้อื่น เพื่อทำให้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ

14 มาตรา 11 การสแปมเมล์ เป็นมาตราที่เพิ่มเติมขึ้นมาเพื่อให้ครอบคลุมถึงการส่งสแปม ซึ่งเป็นลักษณะการกระทำความผิดที่ ใกล้เคียงกับมาตรา 10 และยังเป็นวิธีกระทำความผิดโดยการใช้โปรแกรมหรือชุดคำสั่งส่งไปให้ เหยื่อจำนวนมาก โดยปกปิดแหล่งที่มา เช่น IP Address ส่งผลกระทบ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบคอมพิวเตอร์ของเหยื่อได้ มาตรา 12 การกระทำความผิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของ ประเทศ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อประชาชน หรือกระทบต่อความมั่นคง ของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ และการบริการสาธารณะ ส่วน ใหญ่จะเป็นการเจาะเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์และแอบเพิ่มเติม หรือทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณูปโภคหรือระบบ การเงินของระเทศ ซึ่งเป็นที่มาของการทำสงครามข้อมูลข่าวสาร (Information Warfare)

15 มาตรา 13 การจำหน่ายหรือเผยแพราชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด
การเผยแพร่ชุดคำสั่งชั่วร้ายที่ใช้ในการกระทำความผิดตามมาตราต่างๆ ก่อนหน้าที่ มาตรา 14 และ 15 การปลอมแปลงคอมพิวเตอร์หรือเผยแพร่เนื้อหาที่ไม่เหมาะสม และการ รับผิดของผู้ให้บริการ สองมาตรานี้เป็นลักษณะที่เกิดจากการนำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นเท็จ หรือมีเนื้อหาไม่ เหมาะสมในรูปแบบต่างๆ โดยในมาตรา 14 ได้กำหนดให้ครอบคลุมถึงการปลอมแปลง ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือสร้างข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นเท็จ หรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น รวมทั้งข้อมูลลามกอนาจาร และการฟอร์เวิร์ด(Forward)หรือส่งต่อข้อมูลดังกล่าวอีกด้วยใน มาตรา 15 ได้มีการกำหนดโทษของผู้ให้บริการที่สนับสนุน หรือยินยอมให้มีการกระทำความผิด ตามมาตรา 14 ต้องรับโทษด้วยหากไม่ได้ระงับการเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าว

16 มาตรา 16 การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ หรือดัดแปลงให้ผู้อื่นถูกดูหมิ่น หรืออับอาย เป็นการกำหนดฐานความผิดในเรื่องของการตัดต่อภาพของบุคคลอื่นที่อาจจะทำให้ผู้เสียหายเสียชื่อเสียง ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย โดยความผิดในมาตรานี้เป็นความผิดที่มีความใกล้เคียงกับความผิดฐานหมิ่นประมาทในประมวลกฎหมายอาญา แต่มีการแพร่กระจายความเสียหายลักษณะดังกล่าวทางคอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ตนั้นเป็นไปอย่างรวดเร็วและขยายวงกว้างมากกว่า

17 มาตรา 17 การกระทำความผิดนอกราชอาณาจักรซึ่งต้องรับโทษในราชอาณาจักร
เป็นการนำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษ เนื่องจากมีความกังวลว่า หากมีความกระทำความผิด นอกประเทศแต่ความเสียหายเกิดขึ้นภายในประเทศแล้วจะนำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษได้ อย่างไร จึงต้องกำหนดไว้ให้ชัดเจนในพระราชบัญญัติฯฉบับนี้ด้วย

18 ฐานความผิดและบทลงโทษ
โทษจำคุก โทษปรับ มาตรา 5 เข้าถึงคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ไม่เกิน 6 เดือน ไม่เกิน บาท มาตรา 6 ล่วงรู้มาตรการป้องกัน ไม่เกิน 1 ปี ไม่เกิน บาท มาตรา 7 เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ไม่เกิน 2 ปี ไม่เกิน บาท มาตรา 8 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน บาท มาตรา 9 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน บาท

19 ฐานความผิดและบทลงโทษ
โทษจำคุก โทษปรับ มาตรา 10 การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน บาท มาตรา 11 สแปมเมล์ ไม่มี มาตรา12 การกระทำต่อความมั่นคงก่อให้เกิดความเสียหาย ไม่เกิน 10 ปี/3-15ปี/10-20ปี ไม่เกิน2แสนบาท/ มาตรา 13 การจำหน่าย/เผยแพร่ชุดคำสั่ง ไม่เกิน 1ปี ไม่เกิน20000 บาท มาตรา 14 การเผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม มาตรา 15 ความรับผิดของ ISP มาตรา 16 การตัดต่อภาพผู้อื่น ถ้าสุจริต ไม่มีความผิด ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน บาท

20

21 ข้อมูลอ้างอิงจาก http://jackzone. igetweb. com/index. php
ข้อมูลอ้างอิงจาก  

22


ดาวน์โหลด ppt พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google