Bragg Scattering น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดยเด็กชายพงษ์ธร พูลสวัสดิ์
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
โปรแกรมภาษาโลโก (logo)
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
Rayleigh Scattering.
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
Electromagnetic Wave (EMW)
5 การแทรกสอดของแสง การแทรกสอดจากสองลำแสง
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
การสะท้อนและการหักเหของแสง
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Basic wave theory.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
(Holographic Versatile Disc )
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Liquid Crystal Display (LCD)
LCD Monitor. ● ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD ● ทำความรู้จักมอนิเตอร์ LCD ● ประเภทของมอนิเตอร์แบบ LCD ● ประเภทของมอนิเตอร์แบบ LCD ● หลักการทำงานของมอนิเตอร์
ความหมายและชนิดของคลื่น
สีของแสงที่เหมาะสมกับไก่ไข่
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
ลักษณะการมองเห็นภาพ ตา
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
Mind Mapping.
การจัดการความรู้ คือ กระบวนการในการบริหารจัดการ ความรู้ ไม่ว่าความรู้นั้นจะอยู่ในตัว บุคคล กระดาษ เอกสาร คู่มือ สื่อ หรือแหล่งความรู้อื่นๆนำมาทำการ รวบรวมข้อมูล.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ยูเรนัส (Uranus).
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
การหักเหของแสง (Refraction)
สมาชิกในกลุ่ม นายจารินทร พุ่มกลั่น เลขที่ 2 นายสุทธิพร พันธุ์ดี เลขที่ 11 นางสาวเพ็ญนภา คูณเดช เลขที่ 21 นางสาวรุ่งนัดดา อ่อนพิมพ์ เลขที่ 35 นางสาวกมลทิพย์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
การสร้างตารางคำนวณด้วย
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
เรามาทำ ความรู้จัก กันเลย ระยะทางระหว่างจุด 2 จุด ระยะทาง ( distance ) หมายถึง วัตถุแต่ละอย่าง อยู่ห่างกันเท่าไรในช่วงเวลาหนึ่ง ในทางคณิตศาสตร์
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Bragg Scattering น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส 500510073 โดย น.ส. จิตรเลขา เจิมจิตร รหัส 500510038 น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส 500510073 น.ส. นาริน ยศศรี รหัส 500510082 น.ส. ปวีณา ยศวัฒนากุล รหัส 500510103 น.ส. พนิดา โนจากุล รหัส 500510110 น.ส. พรทิพย์ นรชัยพีรพัฒน์ รหัส 500510113 น.ส. พรพิมล ซางเลง รหัส 500510115 น.ส. พัชรสิริ เจตะภัย รหัส 500510118 น.ส. พิมพิไล ใจแก้ว รหัส 500510122 น.ส. ภรณ์ทิพย์ แต้โอสถ รหัส 500510127 น.ส. รุ่งรัตน์ ปานศิลา รหัส 500510140

กฎของแบรกส์มาจากสมการทางฟิสิกส์ Bragg Scattering กฎของแบรกส์มาจากสมการทางฟิสิกส์ n  =   เลขจำนวนเต็ม q =  มุมตกกระทบ λ =  ความยาวคลื่น           

ผู้ที่เป็นคนพิสูจน์สมการพื้นฐานนี้เป็นคนแรกคือ  นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ชื่อ  เซอร์  ดับบลิว เอซ  แบรกส์  และลูกชายของเขา ในปี ค.ศ. 1913   เพื่อใช้อธิบายโครงสร้างของผลึก  เมื่อกระทบเข้ากับรังสีเอกซ์   ด้วยมุมตกกระทบ   q  ที่แตกต่างกัน 

Bragg's law กฎของแบรกส์อาศัยหลักการทางฟิสิกส์ที่เรียกว่า การแทรกสอดของคลื่นรังสีเอกซ์  (Roentgenstrahlinterferenzen) แต่นิยมเรียกว่า  การเลี้ยวเบนโดยใช้รังสีเอกซ์ X-ray diffraction (XRD)   

ภายในแอพเพล็ตจะมีรังสีเอกซ์ 2 ลำ  ส่องกระทบเข้ากับ ระนาบ 2  ระนาบของผลึก  ที่ห่างกันเป็นระยะ  d   ถ้ามองจากแอพเพล็ตระนาบของผลึกจะเห็นเป็นเส้น   แต่ที่จริงเป็นเผ่นเหมือนกับแผ่นกระจก  สองแผ่น วางขนาน และห่างกันเป็นระยะ  d 

เริ่มต้นทดลอง  รังสี 2  ลำ ก่อนที่จะกระทบกับระนาบของผลึก  มันจะมีเฟสเดียวกัน   โดยรังสีลำแรกจะไปกระทบกับระนาบบนของผลึก  และอีกลำหนึ่งจะไปกระทบกับระนาบที่อยู่ลึกถัดไปของผลึก   รังสีทั้งสองจะสะท้อนออกมา  ซึ่งจะทำให้เฟสของรังสีทั้ง 2  ลำมีความแตกต่างกันไป  

เนื่องมาจากคลื่นมีระยะทางในการเคลื่อนที่ไม่เท่ากัน ถ้าเฟสทั้งสองของรังสีสะท้อน มีเฟสไม่ตรงกัน เมื่อเกิดการเแทรกสอดจะให้ความเข้มของคลื่นต่ำ ตัวดีเทคเตอร์ทางฝั่งสะท้อนจะรับสัญญาณความเข้มได้ต่ำ เข็มจะอยู่ทางซ้าย และสัญญาณจะปรากฎออกเป็นสีแดง ถ้าเฟสทั้งสองของรังสีสะท้อน มีเฟสตรงกัน การแทรกสอดจะเสริมกัน และจะให้ความเข้มของคลื่นออกมาสูง ตัวดีเทคเตอร์ก็จะรับสัญญาณความเข้มออกมาได้สูง เข็มจะตีไปทางด้านขวา และสัญญาณจะปรากฎออกเป็นสีเขียว

Thank You แหล่งที่มา http://en.wikipedia.org/wiki/Bragg%27s_law