ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วัตถุประสงค์ เข้าใจความหมายของงานและพลังงาน เข้าใจความหมายและหาค่าของประสิทธิภาพได้ อธิบายโครงสร้างของสสารและอะตอมได้ อธิบายธรรมชาติของประจุไฟฟ้าได้ การนำไฟฟ้าไปใช้งาน
งานและพลังงาน งาน = แรง x ระยะทาง งาน หมายถึง แรงที่กระทำต่อวัตถุในระยะทางใด ระยะทางหนึ่ง โดยมีความสัมพันธ์ดังต่อไปนี้ งาน = แรง x ระยะทาง งาน(W) มีหน่วยเป็น จูล (Joules) แรง(F) มีหน่วยเป็น นิวตัน (Newtons) ระยะทาง(D) มีหน่วยเป็น เมตร (Meters)
งานและพลังงาน พลังงาน = แรง x ระยะทาง พลังงาน มีความหมายเดียวกับงาน พลังงาน มีความหมายเดียวกับงาน พลังงาน = แรง x ระยะทาง พลังงาน(W) มีหน่วยเป็น จูล (Joules) แรง(F) มีหน่วยเป็น นิวตัน (Newtons) ระยะทาง(D) มีหน่วยเป็น เมตร (Meters)
ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ ของกระบวนการใด ๆ สามารถ คำนวณได้จากสมการต่อไปนี้
ประสิทธิภาพ
โครงสร้างของสสาร สสาร เกิดขึ้นได้จากการรวมตัวกันของธาตุต่าง ๆ ที่มี อยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งเมื่อนำมาพิจารณาเป็น ส่วนย่อย ๆ จะพบว่าประกอบด้วยอะตอมต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก
โครงสร้างของอะตอม อะตอม ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กมากจำนวน 3 ชนิด คือ อะตอม ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กมากจำนวน 3 ชนิด คือ 1. โปรตอน (Protons) 2. นิวตรอน (Neutrons) 3. อิเล็กตรอน (Electrons)
โครงสร้างของอะตอม อะตอมของฮีเลียม อะตอมของอะลูมิเนียม
โครงสร้างของอะตอม อนุภาคนิวตรอม มีมวล 1.67492 x 10-27 กก. (กลาง) อนุภาคโปรตรอน มีมวล 1.67261 x 10-27 กก. (+, e+) อนุภาคอิเล็กตรอน มีมวล 9.10956 x 10-31 กก. (-, e-)
อิเล็กตรอนเวเลนซ์ (Valence Electron) อะตอมของอะลูมิเนียม อะตอมของเงิน
อิเล็กตรอนอิสระ (Free Electron)
ไฟฟ้าสถิต สสารหรือวัตถุใด ๆ สามารถแสดงอำนาจของประจุไฟฟ้าออกมาได้ ถ้าวัตถุนั้นมีอนุภาคอิเล็กตรอนมากกว่าอนุภาคโปรตรอน วัตถุนั้นจะแสดงอำนาจของประจุไฟฟ้าลบ แต่ถ้าวัตถุมีอนุภาคโปรตรอนมากกว่าอนุภาคอิเล็กตรอน วัตถุนั้นจะแสดงอำนาจของประจุไฟฟ้าบวก
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
การนำไฟฟ้าไปใช้งาน แหล่งกำเนิดพลังงานไฟฟ้า
การนำไฟฟ้าไปใช้งาน
การนำไฟฟ้าไปใช้งาน การส่งกระแสไฟฟ้า
การนำไฟฟ้าไปใช้งาน เสาส่งไฟฟ้าแรงสูง
การนำไฟฟ้าไปใช้งาน
การนำไฟฟ้าไปใช้งาน การจ่ายกระแสไฟฟ้า ก่อนจ่ายกระแสไฟฟ้าถึงบ้านผู้ใช้ไฟฟ้า จะต้องมีการลดแรงดัน ไฟฟ้าเสียก่อน โดยผ่านสถานีย่อย สายนี้เรียกว่าสายป้อน และสายที่ต่อจากสายป้อนจะส่งต่อไปด้วยแรงดันไฟฟ้า 12 kV สายส่งระดับนี้จะกระจายไปตามถนนต่าง ๆ และต่อเข้ากับหม้อแปลงเพื่อลดระดับแรงดัน ระบบนี้เรียกว่าระบบจำหน่าย จากนั้น หม้อแปลงไฟฟ้าจะแปลงแรงดันไฟฟ้าจาก 12,000 โวลต์ ลงเป็น 220 โวลต์ สำหรับระบบไฟฟ้าเฟสเดียว และเป็น 380 โวลต์ สำหรับระบบไฟฟ้าสามเฟส แล้วแต่ชนิดของผู้ใช้ไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าแรงสูงมีอันตรายมาก จึงต้องใช้ลูกถ้วย ทำหน้าที่เป็นฉนวนไม่ให้สายไฟฟ้าสัมผัสส่วนของเสา
การนำไฟฟ้าไปใช้งาน ระบบสายบริการ หมายถึงระบบของสายไฟฟ้าที่ต่อจากหม้อแปลงไปยังบ้านพักอาศัย
การนำไฟฟ้าไปใช้งาน - ระบบไฟฟ้าเฟสเดียว 2 สาย - ระบบไฟฟ้าเฟสเดียว 3 สาย
การนำไฟฟ้าไปใช้งาน - ระบบไฟฟ้า 3 เฟสเดียว 3 สาย
การนำไฟฟ้าไปใช้งาน - ระบบไฟฟ้า 3 เฟสเดียว 4 สาย