- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

กายภาพบำบัด ในผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
ปรู๊ฟทันใจ โครงการ แผนกลูกค้าสัมพันธ์
“Angiographic Patient's safety”
ข้อมูลการเข้าถึงบริการและคุณภาพบริการ หน่วยบริการในพื้นที่ เขต ๖ ระยอง
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
Thailand Research Expo
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography)ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก L047 การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจ ด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง.
Nursery ก็ลดโลกร้อนได้
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
โรคคอตีบ (Diphtheria)
สาขาหัวใจ ปัญหากิจกรรมสถานบริการ 1. STEMIยาละลายลิ่มเลือดพจก. 2. NSTEMIตรวจ ECHO CARDIOGRAPHY และทำการตรวจสวนหัวใจ พจก. 3. CARDIAC ARRHYTHMIA และ VHD ได้รับยา.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
กรณีตัวอย่าง.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรงพยาบาลปราสาท PCT อายุรกรรม.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ประเด็นการตรวจราชการ
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
เนื้อที่ทั้งหมด 32 ไร่ 2 งาน 10 ตารางวา
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
เจ็บแน่นหน้าอก.
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ต่อการส่งเสริมสุขภาพตา
เรื่อง การดูแลผู้ป่วย MI
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
ระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย
คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
ระบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
การพัฒนาระบบบริการสาขาหัวใจ เขต1
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...

ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
แนวทางการคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน พฤษภาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้ป่วยอายุรกรรมที่อยู่ในภาวะวิกฤตไม่ได้รับการดูแลรักษาได้ทันท่วงทีและเหมาะสม - กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS) -Acute STEMI-

อาการเจ็บหน้าอก ? ระยะเวลาเจ็บหน้าอกนาน ? การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด ? - เวลาตั้งแต่เจ็บอกจนถึงเริ่มให้ยา - เวลาที่เหมาะสมเมื่อผู้ป่วยมาถึง รพ.

Acute coronary syndrome (ACS) -กลุ่มอาการที่มีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดอย่างรุนแรงและเฉียบพลัน -มีการปริแตกของคราบไขมัน(artherosclerotic plaque) ที่ก่อตัวสะสมเกาะอยู่ตามผนังหลอดเลือดแดงโคโรนารี่ เป็นผลให้เกิดลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือด ทำให้การไหลเวียนในหลอดเลือดลดลงอย่างรุนแรง -แบ่งตามลักษณะการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

กลุ่มที่มี ST segment ยกสูงขึ้น หรือ ST elevation acute coronary syndrome

2. กลุ่มที่ไม่มี ST segment ยกสูงขึ้นหรือNon ST elevation ACS -ECG ปกติหรือ ST segment ลดต่ำลง หรือพบ T wave หัวกลับ

Pathophysiology of ACS Subtotal artery occlusion Complete total occlusion Non ST elevation ACS (UA/NSTEMI) ST elevation ACS (AMI)

Chest pain Initial assesment Goal = 10 min Assess 12 lead ECG Hx PE EKG and EKG monitoring CXR Non Cardiac Diagnosis Chronic Stable Angina Possible ACS Definite ACS

Lives saved per 1000 patients with fibrinolytic therapy 40 30 20 10 0-1 2-3 4-6 7-12 Hours

Door to Needle Time and Mortality In hospital mortality (%) Door to Balloon Time and Mortality

Importance of Time-to-Treatment: Mortality at 6 Months in 10 RCT’s Meta-analysis Early <2 h Intermediate 2-4 h Late >4 h % n=414 n=424 n=512 n=523 n=297 n=315 Zijlstra at al. EHJ 2002

ความเสี่ยงทางคลินิกที่สำคัญของโรคนี้ ผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดช้า ผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยา – Major bleeding ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่รุนแรง ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นกระทันหัน

วิเคราะห์สาเหตุและมาตรการป้องกัน

ผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดช้า เหตุจาก การวินิจฉัยล่าช้า – อาการไม่ชัดเจน, การแปลผล EKG ไม่ถูกต้อง, ประสบการณ์ของผู้ดูแลผู้ป่วยมีหลากหลาย ไม่มีแนวทางการดูแลรักษาที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน การตัดสินใจของผู้ป่วยและญาติล่าช้าหลังได้รับข้อมูลจากแพทย์หรือไม่อาจตัดสินใจได้ จำเป็นต้องรอการตัดสินใจรักษาจากผู้ที่เป็นผู้นำความคิด ซึ่งไม่ได้อยู่รับฟังโดยตรง

ผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดช้า-ต่อ 4. การบริหารยาล่าช้า 5. ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลล่าช้า 6. ผู้ป่วยส่งต่อจากโรงพยาบาลชุมชนล่าช้า 7. ผู้ป่วยตัดสินใจเข้ารับการรักษาล่าช้า

มาตรการป้องกัน ให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ที่ดูแลผู้ป่วย จัดทำ Care Map – ACS ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วนและชัดเจนแก่ผู้ป่วยและญาติ ประสานงานกับห้องจ่ายยาในการบริหารยาที่รวดเร็ว จัดโครงการให้ความรู้กับประชาชนวันหัวใจโลกทางวิทยุกระจายเสียง ประสานงานและให้ความรู้กับโรงพยาบาลชุมชน

เกิด Major bleeding เหตุจาก ผู้ป่วยอาจจะมีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกอยู่แล้ว แต่ไม่ได้หาข้อมูล เมื่อเกิดภาวะเลือดออกให้การดูแลรักษาล่าช้า

มาตรการป้องกัน มีการ check list ก่อนใช้ยา โดยผู้ป่วยต้องมีเกณฑ์ครบทุกข้อ จึงจะได้รับยา มีขั้นตอนการดูแลผู้ป่วยตั้งแต่ก่อนให้ยาและเมื่อเกิดปัญหามีการเตรียมความพร้อมสำหรับการรักษา

ความเสี่ยงทางคลินิกที่สำคัญของโรคนี้ ผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดช้า ผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยา – Major bleeding ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่รุนแรง ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นกระทันหัน

มาตรการป้องกัน รับผู้ป่วยไว้รักษาใน ICU เพื่อติดตามใกล้ชิด – monitor ตลอดเวลา เตรียมความพร้อมของเครื่องมือ/อุปกรณ์ เพื่อใช้ได้ทันที เช่น - เครื่อง Defibrillator - External pacemaker - รถ emergency - ยาจำเป็น – antiarrhythmic - เตรียมบุคลากร -จัดอบรม CPR ครบ 100 %

เครื่องชี้วัด ระยะเวลาตั้งแต่มีอาการจนได้รับยาละลายลิ่มเลือด < 12 ชั่วโมง ระยะเวลาที่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลจนได้รับยาละลายลิ่มเลือด < 30 นาที อัตราการเกิดเลือดออกผิดปกติที่รุนแรงในผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด