องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน กระตุ้นให้แต่ละคนมีวิสัยทัศน์โดยการสร้างบรรยากาศ และกระตุ้นให้เกิดการสร้างสรรค์ 2. พัฒนาวิสัยทัศน์ส่วนบุคคลให้เป็นวิสัยทัศน์ร่วมกันขององค์การ 3. สร้างทัศนคติต่อวิสัยทัศน์ในระดับความผูกพันให้ มากที่สุด เพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่สนับสนุนโดยอิสระ 4. สนับสนุนวิสัยทัศน์เชิงบวก
ฝึกสร้างวิสัยทัศน์ส่วนตัว ถ้าคุณรู้สึกว่าคุณมีวิสัยทัศน์ แต่ไม่สามารถบอกใครได้อย่างชัดเจนว่าคืออะไร ลองหานิตยสารหลายๆ อย่าง แล้วตัดข้อความที่คุณ สะดุดตาและชอบ โดยไม่ต้องคำนึงว่าจะเกี่ยวกับอะไรของคุณ นำภาพเหล่านั้นมาปะติดปะต่อเป็นรูปภาพ และเขียนข้อความบรรยายภาพนั้นอย่างละเอียด มองดูภาพนั้นส่วนไหนที่มีความสำคัญสำหรับตัวคุณเอง เขียนข้อความสั้นๆ หรืออาจเป็นคำเดียวที่กลั่นกรองวิสัยทัศน์ส่วนหนึ่งของคุณออกมา เขียนความต้องการที่ตัวคุณเองใฝ่ฝันในอนาคตจากภาพที่ไร้ขอบเขต
ฝึกการสร้างพันธกิจ วิสัยทัศน์คือสิ่งที่ไม่มีที่สิ้นสุด และอยู่ตลอดไปตราบเท่าที่คุณต้องการเปลี่ยนธุรกิจ และเป็นสิ่งผลักดันให้เกิดภารกิจ และพลัง ภารกิจคือกิจกรรมที่มีที่สิ้นสุด และบรรลุได้ที่ผู้บริหารต้องการสื่อให้คนอื่นรู้ ภารกิจคือข้อความที่บอกถึงขั้นที่จะก้าวไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ เป็นกิจกรรมหลักๆ ของคุณที่ต้องทำให้เกิดขึ้นจริง
การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม เป็นการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม โดยอาศัยความรู้ ความคิดของสมาชิก มาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อพัฒนาความรู้ และความสามารถของทีมให้เกิดขึ้น
ปัจจัยที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันในทีม ใช้การสนทนา เป้าหมายองค์การ ใช้การอภิปราย กระตุ้น -การรวมพลังสมาชิกในทีม -การแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น ประสบการณ์ ต่อเนื่องกระตุ้นให้เกิด การสนทน(าDialogue) .-มีการอภิปรายร่วมกันอย่างเปิดเผย - การนำวิสัยทัศน์ของแต่ละคนมาแลกเปลี่ยนกัน - หาข้อสรุปเพื่อเกิดกิจกรรมร่วมกัน
กระบวนการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน 5 รูปแบบ 1.การฝึกปฏิบัติระหว่างการทำงาน (On-the-job Training) 2.การเข้าร่วมงานในโครงการต่างๆ (Cross-Functional Team ) เน้นการพัฒนากิจกรรมคุณค่า (Value Activities) 3.การมีระบบพี่เลี้ยง (Supervision,Coaching) 4.การเรียนรู้ด้วยตัวเอง (Self-study) 5.การเรียนรู้ในห้องฝึกอบรม (Class,Workshop) ทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
วิธีการเรียนรู้ร่วมกัน (Team Learning) มีการกระตุ้นเตือนให้ทุกคนเข้าใจในวิธีการเรียนรู้ทั้ง 5 มีการหลีกเลี่ยงที่จะตำหนิกัน ทุกคนเปิดใจและซื่อสัตย์ต่อกันในการอภิปรายถึงสาเหตุในแต่ละจุดของงาน จนได้ข้อสรุป ทุกคนในองค์กร มีการเรียนรู้ร่วมกันในการสร้างจิตสำนึกด้านการรักษาคุณภาพของการทำงานและมีการพัฒนาแก้ไขตลอดเวลา มีการนำเอาสิ่งที่เรียนรู้มา ทั้งปัจจุบัน/อดีต มาประยุกต์ใช้กับงานโดยใช้เทคนิคการเสวนา และประชุมกลุ่ม
วิธีการเรียนรู้ร่วมกัน (Team Learning) ต่อ บุคลากรได้รับการมอบหมายให้ทำกิจกรรม หรือแก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยทีมงาน และเอื้ออำนาจ มีโครงสร้างทีมงานที่ชัดเจน นำไปสู่การปรับเปลี่ยน(Transforming) มีระดับการเรียนรู้ร่วมกันทั่วทั้งองค์การ มีระดับความท้าทายที่แตกต่างกันในแต่ละดับตำแหน่งเพื่อสร้างการจูงใจให้เอื้อต่อการเรียนรู้ร่วมกัน
การสร้างระดับการเรียนรู้ที่ท้าทาย 4 ขั้น 1. ข้อมูลใหม่หรืออุปกรณ์ใหม่ ๆ 2. ภาระหน้าที่ใหม่ เช่นการแต่งตั้ง การเลื่อน กล่าวโดยสรุป การพัฒนาองค์กรเพื่อ ให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ต้องปรับกล ยุทธ์การบริหารให้มีพลานุภาพ 3.ระบบบริหารใหม่ เช่นนำระบบ TQM หรือรีเอ็นจิเนียริ่งมาใช้ปฏิบัติ ซึ่งมีผลกระทบต่อคนในองค์กร ตั้งแต่รัดับหัวหน้าขึ้นไป 4. New Paradigm การจัดโครงสร้างและระบบบริหารใหม่ที่เป็น สิ่งท้าทายเพื่อสนองตอบต่อกลยุทธ์