เพื่อความเป็นพลเมือง (Civic Education)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
Advertisements

(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
ลักษณะของครูที่ดี.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
การสังเคราะห์ประสบการณ์ กระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
การมอบนโยบายและบรรยายเรื่องทิศทางประเทศไทยในมิติวัฒนธรรมภายใต้แผนปรองดองแห่งชาติ โดย นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม วันจันทร์ที่
บทบาทสภาข้าราชการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
แนวคิด ในการดำเนินงาน
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
สรุปกรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
มุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพ ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
Preparation for Democratic Citizen
ความดีเด่นของสถานศึกษา
การกระจายอำนาจสู่ อปท.
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
วิถีชีวิตประชาธิปไตย
การเสริมสร้างให้บุคลากรรักองค์กร
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ในการพัฒนาการศึกษา เน้น “ ความเท่าเทียมกัน ” และ การนำ “ เทคโนโลยี ” มาใช้ใน การจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน “ ที่มีคุณภาพ สำหรับเยาวชนทุกคน ทุกพื้นที่ ”
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ประวัติการศึกษาไทย.
( Human Relationships )
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
จุดเน้นวิชาประวัติศาสตร์
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
ความเสี่ยงและการสร้างภูมิคุ้มกันของประเทศ
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพื่อความเป็นพลเมือง (Civic Education) การจัดการศึกษา เพื่อความเป็นพลเมือง (Civic Education)

หน้าที่พลเมืองกับการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (Civic Education) ต่างกันอย่างไร ? การจัดการศึกษาเพื่อความ เป็นพลเมือง เป็นการจัดการศึกษาเพื่อให้ พลเมือง มีความเป็นพลเมืองที่ดี มี คุณภาพ เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนา ประเทศ (คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ด้านการพัฒนาการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองดี, ๒๕๕๔) กระแสสังคมเรียกร้องเรื่องวิชา “หน้าที่พลเมือง” แต่ความเป็นจริงแล้ว หน้าที่พลเมืองเป็นเรียนที่เน้นไปที่เนื้อหาสาระมากเกินไป ดร.วิชัย ตันศิริ วิพากษ์การสอนแนวนี้ว่า หลักสูตรการสอนวิชา “หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม” ดั้งเดิม คือ การสอนหลักการและกระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เป็นการสอนที่เน้นหลักคิดทางกฎหมาย(Legal concept) เช่น เริ่มต้นด้วยคำนิยาม ความหมายของ “อำนาจอธิปไตย” และเป็นที่มาของอำนาจรูปแบบการปกครองที่มีรัฐสภาระบบการเลือกตั้ง ฯลฯ เป็นต้น ในขณะที่การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง(Civic Education) เน้นการพัฒนาคุณสมบัติของผู้เรียน ให้เรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันในสังคม และการรวมมือกันแก้ปัญหาในสังคม

(แผนปรองดองแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ,๒๕๕๓) การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (Civic education) เป็นการศึกษาที่มุ่งเน้น การสร้างผู้ที่เป็นกำลังสำคัญของเมืองที่จะสืบทอดวัฒนธรรมความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติครอบคลุมพลเมืองทุกวัยของชาติให้เกิดการสืบสานอุดมการณ์ และความเป็นพลเมืองที่มีพลังความคิด พลังความรัก และพลังความสามัคคีไปอย่างต่อเนื่อง อยู่ร่วมกันบนพื้นฐานของ การเคารพกติกาของสังคม เคารพผู้อื่น เคารพหลักการของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และลงมือแก้ปัญหาที่เริ่มต้นจากตนเอง (แผนปรองดองแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ,๒๕๕๓)

“หน้าที่พลเมือง”: เคารพผู้อื่น เคารพกติกา แก้ปัญหาโดยเริ่มต้นที่ตนเอง Civil Society! สำคัญที่สุดคือ : เคารพผู้อื่น-เคารพกติกา พลเมือง เคารพกติกา และเข้าใจระบอบประชาธิปไตย มีอิสรภาพและรับผิดชอบตนเอง ยอมรับความแตกต่าง รับผิดชอบต่อสังคม เคารพหลักความเสมอภาค เคารพสิทธิผู้อื่น ๑. หลักการที่เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติ ๓ ประการ คือ เคารพผู้อื่น เคารพกติกา และแก้ปัญหาที่เริ่มต้นจากตนเอง เป็นแนวคิดที่มาจากบทความของ ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๒. การสร้างวัฒนธรรมการเมืองที่ส่งเสริมระบอบประชาธิปไตยนั้นจะต้องวางแผนที่ครบวงจร ตั้งแต่การจัดหลักสูตรการสอนโดยตรงในสถานศึกษาที่เรียกว่า “Civic Education” และการสอนโดยอ้อมที่เรียกว่า “Socialization” คือ การปลูกฝังค่านิยมโดยการฝึกปฏิบัติผ่านโครงการกิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษา และผ่านกรอบการมีชีวิตร่วมกันแบบประชาธิปไตย และนอกเหนือจากนั้น คือ การมีส่วนร่วมทางการเมือง หรือกิจกรรมของบ้านเมืองจริง ๆ เคารพผู้อื่น เคารพกติกา แก้ปัญหาโดยเริ่มต้นที่ตนเอง

หลักการสำคัญ เปลี่ยนจากการมองบุคคลอื่นในแนวดิ่ง ไปเป็นการมองแนวระนาบ ทุกคนเสมอกัน ไม่เหมือนกันเป็นเพียงความแตกต่าง

Project Citizen ตัวอย่างการทำโครงงานแก้ปัญหาสังคมของสถาบันพระปกเกล้า ที่นักเรียนศึกษาที่เชื่อมโยงกับนโยบายสาธารณะ(Public Policy) ที่มีการเรียนรู้ด้านการเมืองการปกครองควบคู่กับการทำโครงงานด้วย