คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย คู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม. และแกนนำชุมชน คู่มือการดูแลทางจิตเวชสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิ
แนะนำคู่มือการดูแลทางจิตเวชสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิ
วัตถุประสงค์ของคู่มือ เพื่อให้พยาบาลวิชาชีพประจำหน่วยบริการปฐมภูมิ ใช้ในการดูแลผู้มีปัญหาเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย คลอบคลุมทั้ง การคัดกรอง การดูแลเบื้องต้น การส่งต่อ และการดูแลต่อเนื่อง
แนวคิดการพัฒนาคู่มือ พิจารณาเลือกแนวทางจากหลักฐานเชิงประจักษ์ คาดหวังว่าพยาบาลประจำหน่วยบริการปฐมภูมิสามารถนำไปใช้ได้ง่ายในทางปฏิบัติ ข้อจำกัด เรื่อง การรักษาโรคเบื้องต้นตามพระราชบัญญัติวิชาชีพพยาบาลไม่คลอบคลุมปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ส่งผลให้ไม่สามารถให้การรักษาโรคเบื้องต้นได้
รายละเอียดคู่มือ การซักประวัติ การประเมินและสังเกต กลุ่มเสี่ยงปัญหาสุขภาพจิต ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช การดูแลภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช การคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต การแจ้งผลการคัดกรองหรือการประเมินปัญหาสุขภาพจิต
รายละเอียดคู่มือ การช่วยเหลือดูแลสังคมจิตใจเบื้องต้น การส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต การให้คำปรึกษา (Counseling) การดูแลผู้มีปัญหาทางจิตเวชอย่างต่อเนื่อง การติดตามเยี่ยมทางโทรศัพท์ การเยี่ยมบ้าน ภาคผนวก แบบคัดกรองปัญหาโรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย แบบคัดกรองโรคจิต แบบคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา
การสัมภาษณ์ การประเมินและการสังเกต
(ต่อ)
ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช การฆ่าตัวตาย พฤติกรรมรุนแรง ภาวะชัก ภาวะเพ้อ
การคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต การคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 Q ประเมินอาการโรคซึมเศร้า 9 Q ประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย 8 Q คัดกรองปัญหาโรคจิต คัดกรองปัญหาสุรา
การแจ้งผลการคัดกรอง
การช่วยเหลือดูแลสังคมจิตใจเบื้องต้น
การดูแลผู้มีปัญหาทางจิตเวชอย่างต่อเนื่อง การติดตามเยี่ยมทางโทรศัพท์ การเยี่ยมบ้าน
อภิปราย ซักถาม