สภาพน้ำทิ้งของโรงงานผลิตอาหาร ประเภทข้าวเกรียบ ที่เปลี่ยนแปลงไป ภายหลังเติมน้ำสกัด ชีวภาพ BE
จุด PB 6 ช่วงสุดท้าย สภาพที่ เปลี่ยนแปลงน้ำทิ้ง ของ
สภาพน้ำทิ้ง ที่มีไขมัน และแป้ง ณ วันที่ 19 ก. พ เวลา 20 นาฬิกา
เช้าวันที่ 20 ก. พ. หรือ 10 ชั่วโมง ภายหลังเทน้ำชีวภาพ กลิ่นหายไปมาก
เช้าวันที่ 2 ( 21 ก. พ.) แยกชั้นชัดเจน เหลือกลิ่นแป้ง
วันที่ 22 ก. พ หรือ 3 วันให้ หลัง ภายหลังเติม BE
วันที่ 23 ก. พ หรือ 4 วันให้ หลัง
วันที่ 24 ก. พ หรือ 5 วันให้ หลัง
วันที่ 25 ก. พ หรือ 6 วันให้ หลัง
วันที่ 26 ก. พ หรือ 7 วันให้ หลัง ทดลองเขี่ยและกวนดู 7-8 ชม. ให้หลังก็อยู่ สภาพในภาพ
วันที่ 27 ก. พ หรือ 8 วันให้ หลัง
วันที่ 28 ก. พ หรือ 9 วันให้ หลัง
วันที่ 29 ก. พ หรือ 10 วัน ให้หลัง
วันที่ 6 มีค หรือ 16 วันให้ หลัง
วันที่ 10 มีค หรือ 20 วันให้ หลัง ตักขึ้นผึ่งให้แห้ง สภาพก็ยังอมน้ำมัน
วันที่ 10 มีค หรือ 20 วันให้ หลัง ใส่กล่องโฟม เปิดฝา กล่อง ผึ่งแดด ส่วน น้ำมันจะแยกออก เกาะเป็นก้อนแข็ง
จุด PB2 ช่วงสุดท้าย สภาพน้ำทิ้งไขมันกับแป้งที่ยัง สดอยู่ เมื่อใส่น้ำชีวภาพ BE ลงไป
สภาพน้ำทิ้งไขมันกับแป้ง เมื่อใส่น้ำ ชีวภาพลงไป ณ วันที่ 19 ก. พ เวลา 20 นาฬิกา
เช้าวันที่ 20 ก. พ. หรือ 10 ชั่วโมง ภายหลังเทน้ำชีวภาพ น้ำชีวภาพยังค้างอยู่บนผิวหน้า
วันที่ 2 ( 21 ก. พ.) สภาพไขมันเริ่มถูกย่อยสลาย และ ขึ้นอืด แต่ไม่ส่งกลิ่น
วันที่ 3 (22 ก. พ.) เพิ่มน้ำชีวภาพ ลงไป จึงเกิดการแยกชั้นและอืด แต่ไม่ ส่งกลิ่น
วันที่ 4 (23 ก. พ.) ขึ้นอืดมาก... จนล้นขวดแต่ไม่ส่ง กลิ่น
วันที่ 5(24 ก. พ.) อืดมากขึ้นจนล้นภาชนะต้อง เปลี่ยนภาชนะ
วันที่ 6 (25 ก. พ.) เริ่มแยกชั้นใหม่ มีกลิ่นเล็กน้อย
วันที่ 7 (26 ก. พ.) เริ่มแยกชั้นใหม่ มีกลิ่นเล็กน้อย
วันที่ 8 (27 ก. พ.) มีกลิ่นน้อย
วันที่ 8 (28 ก. พ.) มีกลิ่นน้อย
วันที่ 10 (29 ก. พ.) มีกลิ่นน้อย
ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ฉีดพ่น เนื่องจากไขมันจับตัวกันค่อนข้างหนาแน่น คิดว่า ถ้ามีอุปกรณ์ ฉีดพ่นลงทางปากบ่อพัก น่าจะเข้า ไปในท่อได้ดีขึ้น