การเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ จากสิทธิตามกฎหมาย ของคนพิการ ไทย การเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ จากสิทธิตามกฎหมาย ของคนพิการ ไทย
1. การรักษาพยาบาล + สวัสดิการ 2. การศึกษา 3. การจ้างงาน 4 1. การรักษาพยาบาล + สวัสดิการ 2. การศึกษา 3. การจ้างงาน 4. สิ่งอำนวยความสะดวก
กฎหมายจ้างงานคนพิการ ตาม พ. ร. บ. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ กฎหมายจ้างงานคนพิการ ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556
กฎหมายคนพิการ
ข้อแตกต่างของกฎหมาย 1. ข้อยกเว้น มี 2. ใช้บังคับกับ เฉพาะเอกชน พ.ร.บ.การฟื้นฟูฯ 2534 พ.ร.บ.ส่งเสริมฯ 2550 1. ข้อยกเว้น มี บังคับเด็ดขาด 2. ใช้บังคับกับ เฉพาะเอกชน หน่วยงานรัฐด้วย 3. บทลงโทษ ไม่มี 1. ปรับห้าพัน 2. เสียดอกเบี้ย 3. อายัดทรัพย์ 4. ประกาศ 4. มาตรการทางเลือก ให้สัมปทาน
การจ้างงานคนพิการ บังคับใช้ เมื่อ 2555 เป็นปีแรก ผู้เกี่ยวข้องยังไม่พร้อม มีการส่งเงินเข้ากองทุนจำนวนมาก ความต้องการจ้างคนพิการมีมาก
การปฏิบัติตามกฎหมาย จ้างคนพิการ มาตรา 33 ส่งเงินเข้ากองทุน มาตรา 34 จัดสัมปทาน มาตรา 35
ให้นายจ้าง/หน่วยงานของรัฐ มาตรา 33 ให้นายจ้าง/หน่วยงานของรัฐ รับคนพิการเข้าเป็นลูกจ้าง ในอัตราส่วน 100 : 1 เพื่อให้คนพิการมีอาชีพมีงานทำ 9 9
เหตุผลการใช้ระบบโควตา สร้างความเสมอภาคในโอกาส/ความเท่าเทียมกันระหว่างคนพิการ VS คนทั่วไป เชื่อว่านายจ้างที่มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป มีศักยภาพ/ช่วยเหลือคนพิการได้ การมีงานทำถือเป็นการให้โอกาสทางสังคมอย่างดีที่สุดแก่คนพิการ ในต่างประเทศกำหนดอัตราร้อยละ 2-7 ของแรงงานในบริษัท
ระบบโควตาในต่างประเทศ อัตราส่วนการจ้างงานคนพิการ อิตาลี ลูกจ้าง 15-35 จ้าง 1 คน, 36-50 จ้าง 2 คน ลูกจ้าง > 50 คนขึ้นไป รับร้อยละ 7 ฝรั่งเศส ลูกจ้าง 20 คนขึ้นไป รับร้อยละ 6 โปแลนด์ ลูกจ้าง 25 คนขึ้นไป รับร้อยละ 6 เยอรมันฮังการี ลูกจ้าง 20 คนขึ้นไป รับร้อยละ 5 ออสเตรเลีย ลูกจ้าง 25 คนขึ้นไป รับร้อยละ 4 อาร์เจนตินา ออสเตรีย ลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป รับร้อยละ 4 อังกฤษ ลูกจ้าง 20 คนขึ้นไป รับร้อยละ 3 ไทย ลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป รับร้อยละ 1
ผลการจ้างงานคนพิการ ของไทยปัจจุบัน ผลการจ้างงานคนพิการ ของไทยปัจจุบัน
จำนวนคนพิการนายจ้างที่ต้องจ้าง ปีที่ดำเนินการ คนพิการที่ต้องจ้าง (คน) ปี 2555 51,554 ปี 2556 53,733 จำนวนคนพิการ 1,439,434 ข้อมูล ณ ตุลาคม 2556
จำนวนคนพิการ 1,439,434 คน
ข้อมูลผลการจ้างงานคนพิการ รายการ 2554 2555 2556 นายจ้าง (แห่ง) 5,665 12,796 12,788 ปฏิบัติ (แห่ง) (ร้อยละ) 3,467 (61.36) 8,589 (67.12) 8,684 (67.91) จ้างคนพิการ (คน) 5,360 16,768 19,483 สัมปทาน (สัญญา) 84 737 2,853 ส่งเงิน (ล้านบาท) 220 1,252 1,615 ไม่ปฏิบัติ/ปฏิบัติไม่ครบ (ร้อยละ) 38.64 32.88 32.09 ข้อมูล ณ วันที่ 21 ก.ค. 2556
ประเภทความพิการที่ถูกจ้างงาน ปี 2556 ลำดับ ประเภทความพิการ 2555 2556 1 ทางการเห็น 765 823 2 ทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย 3,154 2,785 3 ทางการเคลื่อนไหว/ทางร่างกาย 8,812 7,454 4 ทางจิตใจ หรือพฤติกรรม 225 193 5 ทางสติปัญญา 361 427 6 ทางการเรียนรู้ 65 35 7 ทางออทิสติก รวมอยู่กับจิตใจ รวม 13,387 11,752
ผลการจ้างงานคนพิการ
นายจ้างที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
การให้สัมปทาน ตามมาตรา 35
การให้สัมปทาน กลุ่มเป้าหมาย คือ คนพิการ หรือผู้ดูแลคนพิการ ผู้ให้ คือ เจ้าของสถานประกอบการและหน่วยงานของรัฐ ผู้ให้ความเห็นชอบ คือ กรมการจัดหางาน/จัดหางานจังหวัด
วิธีการให้สัมปทาน ให้สัมปทาน จัดสถานที่จำหน่ายสินค้าหรือบริการ จัดจ้างเหมาช่วงงาน จ้างเหมาบริการโดยวิธีกรณีพิเศษ ฝึกงาน จัดให้มีอุปกรณ์/สิ่งอำนวยความสะดวก ล่ามภาษามือ ให้ความช่วยเหลืออื่นใด
การให้สัมปทาน “การให้สัมปทาน”หมายความว่า การให้สิทธิแก่คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการครอบครองหรือใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินเพื่อให้คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการได้ใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ
การจัดสถานที่จำหน่าย สินค้าหรือบริการ การจัดสถานที่จำหน่าย สินค้าหรือบริการ “การจัดสถานที่จําหน่ายสินค้าหรือบริการ” หมายความว่า การจัดสถานที่บริเวณองค์กรหรือภายนอกองค์กรเพื่อให้คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการได้ใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ
การจัดจ้างเหมาช่วงงานหรือจ้างเหมาบริการโดยวิธีกรณีพิเศษ “การจัดจ้างเหมาช่วงงานหรือจ้างเหมาบริการ” หมายความว่า การซื้อหรือการจ้างเหมางานหรือจ้างเหมาบริการจากคนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการเพื่อประโยชน์ของหน่วยงานของรัฐ นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการแห่งนั้น โดยวิธีกรณีพิเศษ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุฯ
การฝึกงาน “การฝึกงาน” หมายความว่า การเพิ่มความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ หรือการถ่ายทอดวิทยาการหรือเทคโนโลยีที่สามารถนำไปประกอบอาชีพได้
การจัดให้มีอุปกรณ์หรือ สิ่งอำนวยความสะดวก การจัดให้มีอุปกรณ์หรือ สิ่งอำนวยความสะดวก “การจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวก” หมายความว่า การจัดให้มีอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ เทคโนโลยี หรือสิ่งอำนวยความสะดวกทั้งที่เคลื่อนที่ไม่ได้หรือเคลื่อนที่ได้ เพื่อให้คนพิการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ด้านการประกอบอาชีพในอาคารหรือสถานที่ของนายจ้างหรือสถานประกอบการ หรือหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น และให้หมายความรวมถึงการดำเนินการในส่วนที่เป็นอาคารหรือสถานที่สาธารณะหรือของบุคคลอื่นแต่เชื่อมโยงกับการทำงานของคนพิการในสถานประกอบการแห่งนั้น
การช่วยเหลืออื่นใด
1. การรักษาพยาบาล + สวัสดิการ 2. การศึกษา 3. การจ้างงาน 4 1. การรักษาพยาบาล + สวัสดิการ 2. การศึกษา 3. การจ้างงาน 4. สิ่งอำนวยความสะดวก
1. การรักษาพยาบาล + สวัสดิการ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข 2552
สวัสดิการ 1 บัตรคนพิการ 2 เบี้ยความพิการ 3 ผู้ช่วยคนพิการ 4 ล่ามภาษามือ 5 ปรับปรุงที่อยู่อาศัย 6 ลดหย่อนค่าโดยสาร 7 การเข้าถึงข้อมูลข่าสาร
2. การศึกษา
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551
4. สิ่งอำนวยความสะดวก
กฎกระทรวง 1. มหาดไทย 2. คมนาคม 3. พัฒนาสังคม กฎกระทรวง 1. มหาดไทย 2. คมนาคม 3. พัฒนาสังคม