กลุ่มที่ 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
การติดตาม และประเมินโครงการ.
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
รูปแบบแผนชุมชน.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
งานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กลุ่ม ก้าวไกลกับไอทีที่ ศบกต.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 1

ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงาน เหตุผลประกอบ 1. ข้อมูลด้านการเกษตร ประเภทข้อมูล เช่น ข้อมูลพื้นฐาน ทบก. ทพศ. ศบกต. รู้ข้อมูลในพื้นที่ - คลอบคลุมทุกครัวเรือน - ข้อมูลถูกต้อง ผ่านการวิเคราะห์ร่วมกันจาก อปท. และเกษตรตำบล 1. ศบกต. เป็นผู้เก็บข้อมูล รับรองข้อมูล 2. เกษตรตำบล ร่วมกับ อปท. ในการตรวจสอบความถูกต้อง ของข้อมูล แล้วลงระบบ (ออกแบบประเภทข้อมูล ออกแบบโปรแกรมการจัดเก็บ) ๓. ข้อมูลที่ได้ควรมีการวิเคราะห์ ก่อนนำไปใช้ประโยชน์ใน รูปแบบต่างๆ 4. ทบทวนและปรับปรุงข้อมูลทุกปี 5. กำหนดประธานคณะกรรมการ บริหาร ศบกต. ให้นายกอบต./ เทศบาลเป็นโดยตำแหน่ง เกษตรตำบลเป็นเลขาฯ และเจ้าหน้าที่ของ อปท. เป็นผู้ช่วยเลขาฯ ต้องการมีผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจน

ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงาน เหตุผลประกอบ 2. แผนพัฒนา การเกษตร 1. กำหนดช่วงเวลาในการดำเนินงานอย่าง ชัดเจน 2. มีผู้เกี่ยวข้องจากหน่วยงาน องค์กร ตัวแทน เข้าร่วมในการจัดทำแผน 3. กิจกรรมครอบคลุมภายใต้การดำเนินงาน ของศูนย์ 4. ใช้ข้อมูลที่มีในการจัดทำแผนตามสภาพ ความเป็นจริง 5. ประสานงานรายละเอียดกิจกรรมโครงการ อย่างใกล้ชิด และระบุผู้รับผิดชอบ โครงการอย่างชัดเจน 6. ร่วมบูรณาการของทุกภาคส่วน ให้ อปท. เป็นเลขานุการประสานงาน 7. วิเคราะห์และเตรียมโครงการก่อนเข้าในเวที 8. สนับสนุนงบประมาณในการจัดทำเอกสาร แผน 1. เพื่อให้ทันกำหนดเวลา 2. มีกิจกรรม/โครงการตรงตามความต้องการ/ ปัญหาที่เกิดขึ้น 3. เจ้าหน้าที่ออกค่าใช้จ่ายส่วนตัว

ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงาน เหตุผลประกอบ 3. การถ่ายทอดความรู้ 1. หาความจำเป็น ปัญหาความ ต้องการ กำหนดกิจกรรม/ โครงการ 2. กำหนดช่องทางของถ่ายทอด 3. วางแผนที่ครอบคลุมทั้งตำบล สอดคล้องกับความต้องการ/ โครงการ/ นโยบาย 4. ผู้ที่จะถ่ายทอด คือ ปราชญ์ชาวบ้าน นักวิชาการเฉพาะด้าน หน่วยงานภาคี 5. ดูแหล่งงบประมาณประกอบเพื่อสนับสนุน ให้สอดคล้อง (อปท. กลุ่มจังหวัด/ จังหวัด กรม ฯลฯ) กำหนดเป้าหมายจำนวนครั้งอย่างชัดเจนสอดคล้องกับกิจกรรมความต้องการเพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านการเกษตร

ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงาน เหตุผลประกอบ 4. การให้บริการด้านการเกษตร - ข้อมูล - ความรู้ - ให้คำปรึกษา - สิ่งอำนวยความสะดวก - ปัจจัยการผลิต 1. ช่องทางการให้บริการ - ให้บริการที่ ศบกต. - ให้ออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ นอกเหนือจากที่ตั้งศูนย์ฯ 2. ต้องมีแผนการดำเนินงานที่ ชัดเจน เช่น กำหนดวันให้บริการ 3. มอบหมายให้คณะกรรมการ ศบกต. เป็นผู้รับผิดชอบ/ อยู่เวร ในให้บริการ เพื่อความพึงพอใจของผู้รับบริการ

ประเด็น แนวทางการปฏิบัติงาน เหตุผลประกอบ 5. การส่งเสริมอาชีพการเกษตรแก่เกษตรกร/ ราษฎร 1. รวมกลุ่มด้านอาชีพตามอาชีพ หลัก/ รอง 2. มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง โดยการวางแผนอาชีพ ตามความต้องการของแต่ละกลุ่ม และตามความต้องการของตลาด 3. ทบทวน ประเมินผลการส่งเสริม แล้วนำมาปรับปรุงแก้ไข 4. ส่งเสริมการผลิตเพื่อการแข่งขัน ทั้งในด้านคุณภาพ ความต้องการ ตลาด รักษาสิ่งแวดล้อม ลดต้นทุน การสร้างมูลค่าเพิ่ม 5. สนับสนุนปัจจัยการผลิต ส่งเสริม ในลักษณะกองทุนหมุนเวียน เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข้งให้เกษตรกร ลดปัญหาต่างคนต่างทำ

สวัสดี...