ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

ระบบการส่งต่อและเชื่อมโยง ให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหา
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
25/07/2006.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
Disease Management Information System (DMIS)
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
การสื่อสารยุทธศาสตร์ปี 2558
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การนำแนวคิด Chronic Disease Management มาประยุกต์กับ การจัดการโรคความผิดปกติแต่กำเนิด ปากแหว่งเพดานโหว่ นายแพทย์ ชูชัย ศรชำนิ ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ chuchai.s@nhso.go.th

กว่าร้อยละ 50 ของคนไทยทุกช่วงวัย มีภาวะความเจ็บป่วยเรื้อรังอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมากกว่า  เบาหวาน และภาวะที่เกี่ยวข้องกับเบาหวาน (ตา ไตวายเรื้อรัง หัวใจและหลอดเลือด หลอดเลือดในสมอง โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง ลมชัก ข้อและกระดูก ภาวะความผิดปกติทางจิต และภาวะความกดดันทางจิต ความผิดปกติแต่กำเนิด ทั้งจากกรรมพันธุ์ และพัฒนาการ

ทุกข์ของ Chronic Conditions มุมมองที่ต้องทำความเข้าใจ ปัญหาภาวะความเจ็บป่วยที่เป็นต่อเนื่องไปตลอดชีวิต อาจไม่หายแต่สามารถควบคุมหรือหยุดยั้ง ไม่ให้มีความรุนแรง มากขึ้นต่อไปได้ ความเจ็บป่วยเรื้อรัง มีผลกระทบร่วมกันทั้งต่อ บุคคลนั้น ครอบครัว สังคมปฏิสัมพันธ์กับสังคม จิตใจ ความมั่นใจ ความท้อแท้ ครอบครัว การเข้าสังคมแบบแปลกแยก เศรษฐกิจ รายได้ ความสามารถในการสร้างผลิตภาพแก่สังคม การแบกรับภาระทรัพยากรของระบบสาธารณสุข ทั้งงบประมาณ และการต้องใช้บุคลากร การสื่อสารกับผู้ให้บริการระดับต่างๆ

Disease management : a systems approach to improving patient outcomes “ การจัดการระบบการดูแลผู้ป่วย โดยรวมการคัดกรองความเสี่ยง การตรวจวินิจฉัย การรักษา และการประเมินผล เพื่อให้เกิดสมดุลระหว่าง ผลการรักษา คุณภาพชีวิต และค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม เน้นให้เกิดความร่วมมือในการรักษาระหว่างผู้ให้บริการ ผู้ป่วย และครอบครัว และผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้ ”

Approach ของสำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ Catastrophic Case Management Leukemia Lymphoma Hemophilia Heart surgery Acute Coronary Syndrome (PCI 2008) Disease Management Chronic And Complex illness HIV / AIDS , TB Diabetes , DR Cataract Cleft lip – palate CKD (pilot) Stem Cell (pilot 2008) Thalassemia (pilot 2008) Epilepsy (pilot ) Transplant ??

Disease Management Intervention Points สำหรับความผิดปกติแต่กำเนิด ปากแหว่ง เพดานโหว่ Primary Prevention ถ้าทำได้ เก็บข้อมูล ยสส. 3 Secondary Prevention Tertiary Prevention ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีภายใต้การเอื้ออาทรจากสังคม ครอบครัว Maintain Quality of Life มีภาระโรค Chronic Disease Associated พบความผิดปกติ Defect จัดการ co morbidities ในช่องปาก การพูด Clinical Finding เมื่อคลอด Early treatment Surgical correction คลอด อายุ 10 -15 ปี Case manager บริหารด้วยข้อมูลใน register DMIS

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ก้าวสู่ยุคที่ สอง Effective, responsive and anticipatory care รอให้มีภาวะแทรกซ้อน ภาวะเจ็บป่วยเฉียบพลัน แล้วติดตาม ไล่กวดจ่ายเงินให้บริการที่มีค่าใช้จ่ายสูง EFFECTIVE CHRONIC DISEASE MANAGEMENT จัดการเชิงรุก ป้องกัน ควบคุม หยุดยั้งในทันทีที่เจอปัญหา จัดชุดสิทธิประโยชน์ จ่ายเงินตาม evidence based care หลักการทางการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย การปรับแนวคิดจากการสงเคราะห์ มาเป็นสิทธิ ให้ประชาชนลดความพึ่งพา (dependent) มาเป็นการพึ่งตนเอง ยืนอยู่บนขาตนเอง (independent) สภาวะอันเกี่ยวเนื่องกับการเจ็บป่วยเรื้อรัง ทางด้านเศรษฐานะส่วนบุคคล ครอบครัวรอบข้าง ทางด้านจิตใจและการเข้าสู่สังคม การสร้างระบบริการที่เชื่อมโยงกันทั้งในแนวราบ และแนวดิ่งจึงเป็นทั้งการสร้างกุศลแก่เพื่อนมนุษยชาติด้วยกัน และเป็นการส่งสัญญาณการยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตคนไทยขึ้นมาอีกระดับหนึ่งในเวทีโลก Expensive, reactive, unplanned care

Disease Management ที่ สปสช Disease Management ที่ สปสช. ทำอะไร กับ การบริหารจัดการภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ = 3Rs Registration www.nhso.go.th ลงทะเบียนสิทธิ โดยให้สามารถลงได้ที่สถานที่เกิด เพื่อให้สามารถร่วมมือกันส่งต่อมารักษาผ่าตัดและให้การดูแลช่วยเหลือ Recall ญาติ (พ่อ แม่) เพื่อให้มาดูแลรักษาตามกำหนดเวลา ผ่าตัด ฝึกการพูด ทันตกรรมบำบัด ด้วยสมุดคู่มือประจำตัวผู้ป่วย ระบบติดตามนัดโดย Case Manager Review ทบทวนกับเครือข่ายการจัดบริการในพื้นที่ต่างๆ เพื่อให้จัดบริการตามแนวเวชปฏิบัติที่กำหนด และมีการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามข้อตกลง (ค่าการผ่าตัด / ค่าทันตกรรมบำบัด / ค่าฝึกการพูด)

Chronic Care Model เราต้องเดินไปด้วยกันทั้งภาคบริการและชุมชนเข้มแข็ง Epping-Jordan, J E et al. Qual Saf Health Care 2004;13:299-305 Copyright ©2004 BMJ Publishing Group Ltd.

สปสช. หน่วยบริการจะต้องร่วมกันเพื่อพัฒนาระบบการดูแลแบบบูรณาการ ร่วมรับผิดชอบค่าใช้จ่ายอันเกี่ยวกับการยกระดับคุณภาพบริการ ผู้มีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถจัดการสุขภาพส่วนตนได้ดีมาเป็นผู้เชี่ยวชาญภูมิปัญญาแกนนำท้องถิ่น Remember the three Rs: IT should can support care planning, risk stratification, and monitoring the quality of care on offer. Information systems need to support the transfer of information. ใช้แนวเวชปฏิบัติที่มีหลักฐานอ้างอิงเป็นเกณฑ์เพื่อจัดการกับภาวะการเจ็บป่วยเรื้อรัง โดยใช้ประโยชน์จาก IT ให้ง่ายต่อการดำเนินการ สร้างทีมสหสาขาวิชาชีพที่เข้มแข็ง (รวมทั้งการดูแลด้านสังคมสงเคราะห์) ส่งเสริมการจัดการข้อมูลความเสี่ยง และ case management หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการประจำเป็นพันธมิตรกับองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น สภากาชาดไทย อาสาสมัคร PCTs need to work in partnership with other NHS Trusts (including ambulance trusts) and social care to develop integrated approaches to care. A key issue is the sharing of incentives to promote high quality care. 3 Rs: ระบบสารสนเทศ DMIS จะช่วยสนับสนุนการวางแผนการดูแล การกำหนดระดับความเสี่ยง การเฝ้าติดตามคุณภาพการดูแล การส่งผ่านข้อมูลถึงกันและกัน PCTs need local strategic partnerships with local authorities, engaging community and voluntary organisations Many of the pieces are in place: The Expert Patient programme, NHS Direct and digital TV pilots, but some is patchy. We should build on the strengths of multidisciplinary team working (including social care) with a strong centre in primary care. The NHS could increase its use of risk stratification and case management of high risk patients. We must build on the use of evidence based guidelines for the treatment of chronic diseases and incorporate them in IT systems to make it easier to do the right thing.