กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรรม 2 สาย กรรมดำ กรรมขาว การฆ่า การฉ้อโกง การล่วงเกินสิทธิ์
Advertisements

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
ลักษณะของครูที่ดี.
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๓๖ ข้อ
บุญ.
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
กาลามสูตร สูตรหนึ่งในคัมภีร์ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระพุทธเจ้าตรัสสอนชนชาวกาลามะแห่งเกสปุตตนิคม ในแคว้นโกมล ไม่ให้เชื่องมงายไร้เหตุผล ตามหลัก ๑๐ ข้อ.
กรมส่งกำลังบำรุงทหาร
คำนาม.
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
History มหาจุฬาฯ.
มาตรฐานวิชาชีพครู.
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
อาจแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ ๑. อารมณ์ที่เป็นไปในทาง ยินดี ๒. อารมณ์ที่เป็นไปในทางที่ ไม่ยินดี
วิธีการแสวงหาโมกขธรรม ของพระพุทธเจ้า
บทที่ ๗ ศิลปะการควบคุมอารมณ์
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
อย่าด่วนชื่อ เพราะว่าสมณะนี้เป็นครู
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
คนเราเกิดมา หลายภพชาติ ต่างมีเจ้ากรรมนายเวรต่างกัน
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
กุ ศ ล กรรมบถ อกุศล กรรมบถ
ผู้บริหารพบนักเรียน.
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
การระดมสมอง Brainstroming.
เกราะ ๕ ชั้น และ คุณธรรม ๔ ประการ
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
การบริหารจิต.
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
การเขียน.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ สอนโดย...ครูธีระพล เข่งวา
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
นโยบาย , หลักการ และสิ่งที่อยากเห็น
หน่วย แผนกธุรการและกำลังพล
เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
อริยสัจ 4.
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
         กรรม 12 ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค กรรม 12 ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค 1. กรรมจำแนกตามเวลาที่ให้ผล 4 ประเภท 1) กรรมที่ให้ผลในปัจจุบัน.
อาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา
มาตรฐานฑูตคุณภาพ คุณธรรม ๙ ประการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
ศาสนายิว ก. ความหมาย ๑. ยูดาร์ ภาษาอังกฤษว่า Judalism กรีกว่า Judai
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ? กฎแห่งกรรม = คืออะไร? กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ? มีกี่ชนิด ? , ให้ผลได้อย่างไร ? เพราะเหตุใดกรรมจึงให้ผลต่างกัน ?

กฎแห่งกรรม เป็นหลักธรรมที่สำคัญของพระพุทธศาสนาเป็นคุณลักษณะ พิเศษของพระพุทธศาสนาที่ทำให้พระพุทธศาสนา แตกต่างกับศาสนาอื่น

สิ่งที่ควรเชื่อ ๔ ประการ ชาวพุทธควรมีความศรัทธาหรือความเชื่อ ๔ ประการคือ ๑.ตถาคตโพธิสัทธา - เชื่อในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ๒.กัมมสัทธา - เชื่อว่ากรรมมีจริง ๓.วิปากสัทธา - เชื่อผลของกรรม ๔.กัมมัสสกตาสัทธา - เชื่อว่าสัตว์มีกรรมเป็นของๆตน

๑.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะฟังตามๆกันมา กาลามสูตร ๑.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะฟังตามๆกันมา ๒.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะนับถือสืบต่อกันมา ๓.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะข่าวเล่าลือ ๔.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะมีอ้างไว้ในตำรา ๕.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะเหตุผลทางตรรกะ

๖.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะสรุปจาก ข้อเท็จจริงที่ปรากฏ ๗.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะคิดตรอง ตามอาการที่ปรากฏ ๘.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะเข้ากับ ความเห็นของตน

๙.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะรูป ลักษณะน่าเชื่อถือ ๑๐.อย่าเพิ่งเชื่อเพราะเห็นว่า ผู้พูดเป็นครูของเรา

“ ต่อเมื่อใดรู้ด้วยใจว่าธรรม เหล่านี้เป็นอกุศลหรือกุศล มีโทษหรือไม่มีโทษ เป็นต้นแล้วจึงควรละ หรือถือปฏิบัติตาม ”

การฟังที่ฉลาด อย่าพึ่งเชื่อ อย่าพึ่งปฏิเสธ

จดจำ ศึกษา,ค้นคว้า หาข้อมูล,เหตุผล

จนรู้ว่าอะไรถูกอะไรผิด ปฏิบัติ,ทดลอง จนรู้ว่าอะไรถูกอะไรผิด

กฎแห่งความจริงของชีวิต กฎแห่งกรรม กฎแห่งความจริงของชีวิต กฎของธรรมชาติ

เครื่องมือทำกรรม มี ๓ ทางคือ กายกรรม = กระทำทางกาย วจีกรรม = กระทำทางวาจา มโนกรรม = กระทำทางใจ

กรรม มี ๓ ตามคุณภาพคือ ๑.กุศลกรรม คือ กรรมดี ๒.อกุศลกรรม คือ กรรมชั่ว ๓.อัพยากตกรรม คือ กรรมกลางๆ

ชนิดของกรรมมี ๑๒ คือแบ่งกรรมออกเป็น ๑๒ ชนิด ตามหน้าที่ และลำดับการให้ผล -กรรมแบ่งเป็น ๔ ตามหน้าที่ -กรรมแบ่งเป็น ๔ ตามลำดับการให้ผล -กรรมแบ่งเป็น ๔ ตามเวลาให้ผล

กรรมแบ่งเป็น๔ ตามหน้าที่ ชนกกรรม คือกรรมนำเกิด อุปถัมภกกรรม คือกรรมสนับสนุน อุปปีฬกกรรม คือกรรมมาเบียดเบียน อุปฆาตกกรรม คือกรรมตัดรอน

กรรมแบ่งเป็น ๔ ตามลำดับการให้ผล ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม คือกรรมที่ให้ผลในชาตินี้ ๒.อุปปัชชเวธนียกรรม คือกรรมที่ให้ผลในชาติหน้า ๓.อปราปรเวทนียกรรม คือกรรมในภพต่อๆไป ๔.อโหสิกรรม คือกรรมที่ไม่ให้ผล

กรรมแบ่งเป็น ๔ ตามเวลาให้ผล ๑.ครุกรรม คือกรรมหนัก มี ๒ ฝ่ายคือ ๑.ครุกรรม คือกรรมหนัก มี ๒ ฝ่ายคือ ฝ่ายกุศล ได้แก่ สมาบัติ ๘ (รูปฌาน ๔ , อรูปฌาน ๔) ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕ คือ (๑.ฆ่าบิดา , ๒.ฆ่ามารดา, ๓.ฆ่าพระอรหันต์, ๔.ทำร้ายพระพุทธเจ้าให้ห้อพระโลหิต , ๕.ทำสงฆ์ให้แตกแยกกัน)

๒. อาจิณณกรรม คือกรรมที่ทำด้วยความเคยชิน ๓. อาสันนกรรม คือกรรมที่กระทำตอนใกล้ตาย ๔. กตัตตากรรม คือกรรมสักแต่ว่ากระทำ

ผลกรรม ๗ คู่ “สุภสูตร” ๑.อายุน้อย เพราะไม่ฆ่าสัตว์ ๒.โรคน้อย เพราะใจเย็นเมตตา ๓.ผิวงาม เพราะไม่โกรธ

๔.มียศบริวาร เพราะยินดีต่อผู้อื่น ๕.มีสมบัติมาก เพราะไม่ตระหนี่ ๖.เกิดในตระกูลสูง เพราะไม่กระด้าง ถือตัว ๗.ฉลาด เพราะคบนักปราชญ์