แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้นบกพร่องทางการเรียนรู้และออทิซึม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
Advertisements

การแก้ปัญหานักเรียนที่ไม่จบหลักสูตร งานวัดผล โรงเรียนสุราษฎร์ธานี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
ชื่อเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 5 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2546 โดยใช้แบบประเมินตนเอง(SDQ)
งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
การตัดเกรด โดย อาจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การศึกษารายกรณี.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ความจำเป็นในการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น บกพร่องทางการเรียนรู้ KUS-SI Rating Scales: ADHD/LD/Autism(PDDs) โดย นางกนกพร อินรัมย์ ครูชำนาญการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
 คู่มือการรายงานจุดเน้นออนไลน์ 2555 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 1 เว็บไซต์รายงานจุดเน้นสำหรับสถานศึกษา
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
พรชัย กิจเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางวราภรณ์ ทะนัน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เรื่อง การบันทึกรายการซื้อขายสินค้าในสมุดรายวันทั่วไป โดยวิธี ใช้แบบฝึก ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้นบกพร่องทางการเรียนรู้และออทิซึม KUS-SI Rating Scales : ADHD /LD / Autism (PDDs) วิทยากร นางนฤมล ปานนพภา วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสมุทรปราการ

วัตถุประสงค์ ใช้ประกอบการคัดกรองนักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 – 6 อายุระหว่าง 6 -13 ปี 11 เดือน มีสมาธิสั้น บกพร่องทางการเรียนรู้ และออทิสซึม

ความเป็นมาของแบบคัดกรอง เป็นแบบคัดกรองที่สร้างขึ้นมาของ 2 หน่วยงาน โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา (Kasetsart University Laboratory School Center for Education Research and Development –KUS ) สาขาวิชาจิตเวชเด็กและวัยรุ่น ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ( Faculty Medicine Siriraj Hospital - SI)

ส่วนประกอบของแบบคัดกรอง แบบคัดกรอง มีทั้งหมด 6 ส่วน ส่วน ก สำหรับผู้ตอบแบบคัดกรอง ส่วนที่ 1 ข้อมูลผู้ตอบแบบคัดกรอง ส่วนที่ 2 ข้อมูลนักเรียน ส่วน ข สำหรับผู้ประเมิน ส่วนที่ 3 อายุนักเรียน ส่วนที่ 4 เกณฑ์การแปลผลคะแนน

ส่วนประกอบของแบบคัดกรอง ส่วน ข สำหรับผู้ประเมิน ส่วนที่ 5 การแปลผลคะแนน ส่วนที่ 6 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมที่เป็นประโยชน์ต่อเด็ก

ส่วนประกอบของแบบคัดกรอง KUS SI มีข้อบ่งบอกพฤติกรรมรวม 130 ข้อ มี 5 ด้าน ด้านที่ 1 KUS – SI Rating Scale 1: ADHD มีข้อความ 30 ข้อ ด้านที่ 2 KUS – SI Rating Scale 2: LD –Reading มีข้อความ 20 ข้อ ด้านที่ 3 KUS – SI Rating Scale 3: LD-Written Expression มีข้อความ 20 ข้อ ด้านที่ 4 KUS – SI Rating Scale 4: LD-Mathemtics มี ข้อความ 20 ข้อ ด้านที่ 5 KUS – SI Rating Scale 5: Autism /PDDs มี ข้อความ 40 ข้อ

ผู้ตอบแบบคัดกรองคือใคร ? ผู้ให้คะแนนในแต่ละข้อความที่บ่งบอกพฤติกรรมของแบบ คัดกรอง KUS – SI ทั้ง 5 ด้าน ต้องเป็นครู-อาจารย์ที่สอนภาษาไทยและคณิตศาสตร์ คุ้นเคยกับเด็กเป็นอย่างดี มีโอกาสสอนหรือใกล้ชิดกับนักเรียนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน

ผู้ประเมินคือใคร ? คือครู / อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาหรือ นักจิตวิทยาที่ได้รับการฝึกอบรมในการใช้แบบ คัดกรองจากผู้เชี่ยวชาญ

คำชี้แจงการใช้แบบคัดกรอง ส่วน ก. สำหรับผู้ตอบแบบคัดกรอง 1) ครูคณิตศาสตร์ และครูภาษาไทย อย่างน้อย 2 ท่าน - ครูภาษาไทย ประเมินด้านที่ 1 , 2, 3 และ 5 - ครูคณิตศาสตร์ ประเมินด้าน 1,4, และ 5 - ครูสอนทั้งภาษาไทย และคณิตศาสตร์ ประเมินด้านที่ 1,2,3,4,และ 5 2) กรอกข้อมูลส่วนที่ 1, 2 และประเมินพฤติกรรมทั้ง 5 ด้านชัดเจนถูกต้อง ตามความเป็นจริงเพื่อนำผลคะแนนมาวิเคราะห์พฤติกรรมได้อย่างถูกต้อง

คำชี้แจงการใช้แบบคัดกรอง อ่านคำชี้แจงการตอบแบบคัดกรองแต่ละด้านให้ รอบคอบให้ตรงกับพฤติกรรมรายข้อ ใส่ข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนที่เป็นประโยชน์ต่อการเข้าใจ พฤติกรรมและการช่วยเหลือนักเรียนในส่วนที่ 6

คำชี้แจงการใช้แบบคัดกรอง ส่วน ข สำหรับผู้ประเมิน - คำนวณอายุตามปฏิทินของนักเรียนในส่วนที่ 3 - คำนวณคะแนนดิบพร้อมบันทึกคะแนนดิบในส่วนที่ 5 - นำคะแนนดิบที่ได้จากการประเมินไปแปลงเป็นคะแนนที่ (T- Score)และแปลผลคะแนนแต่ละด้านว่านักเรียนอยู่ ในกลุ่มใด ในส่วนที่ 4 - บันทึกข้อมูลสรุปผลให้ครบทุกช่อง พร้อมให้ข้อเสนอแนะ ในส่วนที่ 5

เรามาลองทำกันดูน๊ะ

ส วั ส ดี ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสมุทรปราการ