สรุปผลการนิเทศงานรอบ 2 ปี 2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการนิเทศงานรอบ 2 ปี 2555 1.การพัฒนา รพ.สต. 2.ระบบปรึกษาทางไกล 3.การบริหารจัดการ (การบริหารงาน/ข้อมูล/การเงินการคลัง/คน ของ) 4.การควบคุมป้องกันโรค 5.การส่งเสริมสุขภาพ 6.การรักษาพยาบาล 7.การฟื้นฟูสภาพ 8.คุ้มครองผู้บริโภค 9.นวัตกรรม สิ่งดีๆ

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา การพัฒนา รพ.สต สถานการณ์ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา ส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์6 ตัวชี้วัด 12 ตัวชี้วัด - การพัฒนา รพ.สต.ขนาดใหญ่ ให้เป็นรพ.สต.แม่แบบ ยังไม่ผ่านตามเกณฑ์ - ห้อง ER ส่วนใหญ่ยังไม่ได้มาตรฐานพร้อมใช้ - ขาดบุคลากรประจำ รพ.สต. *พยาบาลวิชาชีพ 21 แห่ง *นักวิชาการสาธารณสุข 12 แห่ง *ขาดนักกายภาพบำบัดที่เครือข่ายหลัก 3 แห่ง (รพ.ปลวกแดง /เขาชะเมา/นิคมพัฒนา) - ให้ เน้นงานเชิงรุก ออกเยี่ยมบ้าน และให้ อสม.เข้ามามีส่วนร่วมในการทำงาน ทำงานเป็นทีมมากขึ้น - เร่งรัดการดำเนินงาน - พัฒนาห้อง ER ใน รพ.สต.ให้ได้ตามมาตรฐานพร้อมใช้งาน - ให้จัดจ้างบุคลากรเพิ่ม **เงินบำรุง??? มีการหารือในที่ประชุม คปสอ. 2 2

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา ระบบปรึกษาทางไกล (Tele-Conference) สถานการณ์ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา -อินเตอร์เน็ต รพ.สต. บางแห่ง(คปสอ.วังจันทร์ คปสอ.เขาชะเมา คปสอ. แกลง และคปสอ.ปลวกแดง) ช้า ภาพกระตุก -มีการใช้งานน้อย -จนท.คิดว่าไม่สะดวก ชอบใช้โทรศัพท์ -ส่วนใหญ่ไม่มีบันทึกการใช้งาน -ปรับทัศนคติเจ้าหน้าที่ใหม่ จัดระบบให้สะดวกต่อการใช้ การได้ยินเสียงและเห็นหน้า ย่อมดีกว่าได้ยินแต่เสียง -มีคำสั่งแต่งตั้งผู้ให้คำปรึกษาของเครือข่าย /กำหนดเวรในการให้คำปรึกษาให้ชัดเจน -จุดที่ติดตั้งโปรแกรมระบบสะดวก เช่น OPD., E.R. -มีระบบการบันทึกการใช้งาน - Log in เข้าระบบ เพื่อพร้อมใช้งาน และทดสอบระบบทุกวัน -ระบบอินเตอร์เน็ต ในพื้นที่ที่ไม่เป็นเนินเขา ไม่มีอะไรบังและห่างกันไม่เกิน 10 กม. อาจใช้วิธีการติดตั้งเสารับ-ส่งสัญญาณอินเตอร์เน็ต -รพ. ควรติดตั้งอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อใช้ในระบบ Tele-medicine โดยเฉพาะและ เป็นระบบสำรองได้ด้วย -จัดระบบช่องทางด่วนให้ผู้ป่วยส่งต่อจาก Tele. 3 3

การบริหารจัดการ สถานการณ์ ข้อเสนอแนะ 1.การบริหารงาน -มีการประชุม คปสอ. ไม่ทุกเดือน ประชุมคปสอ.ทุกเดือน โดยฝ่ายเลขากำหนดการส่งวาระการประชุมให้ชัดเจน /ประธานไม่ว่างให้มอบรองประธานแทน -บางเครือข่ายไม่มีการสรุปผลการนิเทศในภาพของเครือข่าย -สรุปผลการนิเทศในภาพรวมของเครือข่าย ปัญหาอุปสรรคในด้านใด /การแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่พบจากการนิเทศอย่างไรบ้าง -เป็นข้อมูลนำเข้าในการจัดทำปีต่อไป -กองทุนตำบลทำแผนแล้ว บางกองทุน มีกิจกรรมไม่ครบ ใช้จ่ายเงินไม่ครบตามแผนงาน/โครงการ - เร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ 4 4

การบริหารจัดการ สถานการณ์ ข้อเสนอแนะ 2.ข้อมูล -ข้อมูลรายบุคคล (21 แฟ้ม )ของ รพ.ยังมีปัญหาเรื่องคุณภาพข้อมูล ส่วนใหญ่เกิดจากลงข้อมูลไม่ครบ -มีระบบตรวจสอบ/แก้ไขปัญหา (ตัวอย่าง รพ.วังจันทร์) -ส่งข้อมูลให้บ่อยขึ้น (มากกว่า 1 ครั้ง ต่อเดือน) -ความสมบูรณ์ของเวชระเบียนมีค่าเฉลี่ยน้อยกว่าค่าเฉลี่ยเขต(ระยอง/แกลง/ปลวกแดง/เขาชะเมา/นิคมฯ) - บุคลากร แพทย์ พยาบาลจบใหม่ เป็น Part time ยังขาดทักษะและความเชี่ยวชาญในการลงข้อมูล เวชระเบียน - พัฒนาการลงข้อมูลในเวชระเบียนให้ครบถ้วน เพื่อเป็นช่องทางเพิ่มรายรับของ รพ. ให้ความรู้/ปฐมนิเทศข้าราชการในเรื่องการลงเวชระเบียน 5 5

การบริหารจัดการ 3.การเงินการคลัง 4.ของ/คน สถานการณ์ ข้อเสนอแนะ - ขาดการวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลังเชิงลึกและนำข้อมูลทางการเงินมาใช้ในการจัดบริการ - นำข้อมูลทางการเงินมาวิเคราะห์สถานการณ์ของ CUP + ลูกข่าย รพ.สต.และใช้ข้อมูลทางการเงิน วางแผนพัฒนาการบริหารจัดการ/แผนงาน เพิ่มรายรับลดรายจ่าย 4.ของ/คน -แผนService Plan ประเมินส่วน/ทำแผนการพัฒนาส่วนขาดแล้ว -ประมวลข้อมูลรวมเป็นแผน service plan หน่วยบริการ -งบลงทุนที่ถูกตัดในระดับจังหวัด สามารถบรรจุอยู่ในแผนหน่วยบริการและใช้งบบำรุง/งบค่าเสื่อมดำเนินการ 6 6

การควบคุมป้องกันโรค สถานที่ จำนวน พบลูกน้ำยุงลาย ค่า HI (ร้อยละ) ค่า CI (ร้อยละ) ชุมชน 88 55 62.50 17.37 โรงเรียน 221 30   13.57 วัด 176 27 15.34 7 7

ผลการติดตามนิเทศงานระดับอำเภอ ตำบล จังหวัดระยอง ปี 2555 1. ประชาชนส่วนใหญ่ไม่กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง 2. การสำรวจชุมชนส่วนใหญ่จะพบแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายนอกบ้าน 3. ในโรงเรียนพบในห้องน้ำ บ้านพักครู จานรองกระถางต้นไม้ 4. วัดพบในขันน้ำมนต์ โอ่งน้ำดื่ม 5. รายงานผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายของพื้นที่ขัดแย้งกับการสุ่มประเมิน ให้เร่งรัด/กำกับติดตาม การดำเนินงานตามมาตรการ

การแก้ไขปัญหาไข้เลือดออก 1. ผลักดันเป็นนโยบายของจังหวัดระยอง 2. ประสานการทำงานเรื่องไข้เลือดออกเป็นของทุกหน่วยงานไม่เฉพาะหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งเท่านั้น - นพ.สสจ.ลงพื้นที่ ประสานกับ อปท.พร้อมจัดทีมสุ่มลูกน้ำยุงลาย - ประสานงานท้องถิ่นจังหวัดให้ข้อมูลแก่ อปท.

การแก้ไขปัญหาไข้เลือดออก (ต่อ) -ประชุมชี้แจงแก่ผู้อำนวยการโรงเรียน 3.จัดประชุม War room วางมาตรการการป้องกันควบคุมโรค 4. เผยแพร่ข่าวสารแก่สื่อมวลชน 5. ขอความร่วมมือ อสม. สร้างกระแสความตื่นตัวให้ประชาชนเกิดความตระหนัก 6. สนับสนุนการสร้างมาตรการทางสังคมในชุมชน

การแก้ไขปัญหาไข้เลือดออก (ต่อ) 7.อบรมฟื้นฟูเรื่องการตรวจวินิจฉัย การรักษาพยาบาล การส่งต่อ และ Dead Case Conference 8. อบรมการใช้เครื่องพ่นและวิธีป้องกันตนเองแก่ผู้ปฏิบัติงาน 9.รณรงค์ควบคุมโรคในพื้นที่เสี่ยงและให้ความรู้ 10.ประสานสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด ในการควบคุมลูกน้ำในวัด/ขันน้ำมนต์

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา การควบคุมป้องกันโรค สถานการณ์ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา -งานโรคเรื้อรัง - การแจ้งผลการอ่านภาพถ่ายจอประสาทตาของรพ. ระยอง มีความคลาดเคลื่อน - ผู้ป่วยตา นัดไปทำ Laser รอนาน เครียด ทำให้ความดันโลหิตสูงเฉียบพลัน - การสนับสนุนรองเท้าในผู้ป่วยเบาหวานของ สปสช.มีเงื่อนไขมาก ขอให้ รพ.ระยองจัดให้มีผู้ช่วยลงผลการอ่านภาพถ่ายจอประสาทตา เนื่องจากมีผู้ป่วยจำนวนมาก (7,000-8,000 ราย) ปรับรูปแบบการฉายเลเซอร์เป็น 2 วัน รณรงค์ลดอ้วนสร้างบุญ (อสม.ต้นแบบ เด็กอ้วน) จัดทีมดูแลเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยมีนักกายภาพบำบัดร่วมด้วย -มะเร็งปากมดลูก ผลงานในภาพรวมอำเภอยังไม่ผ่านเกณฑ์ ผลอ่าน pap smear จาก รพ.ระยองล่าช้า ดำเนินงานเชิงรุกเคาะประตูบ้านในกลุ่มเป้าหมาย -การเชิญศูนย์มะเร็ง ชลบุรี มาดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เจ้าหน้าที่ของ รพ.สต.ควรมีส่วนร่วมในตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร่วมกับศูนย์มะเร็งชลบุรีด้วย 12 12

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา การควบคุมป้องกันโรค สถานการณ์ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา -อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง การรายงานโรคทาง E-mail มีปัญหาเจ้าหน้าที่ไม่เปิด mail - ให้ผู้รับผิดชอบงานแจ้งทาง E-mail ร่วมกับ โทรแจ้งผู้รับผิดชอบงานด้วย -งานเอดส์ จุดเด่นของ CUPบ้านค่าย มีระบบติดตามผู้ป่วย มีการติดตามการให้ยาต้านไวรัสในผู้ป่วยเอดส์ที่อยู่ในเรือนจำ จุดเด่นของ CUPวังจันทร์ 1. มีชมรมที่เข้มแข็งและได้รับงบจาก อบต. 2. เปิดบริการให้คำปรึกษาคลินิกบริการที่เป็นมิตรที่ รพ.ทุกวัน และในโรงเรียนมัธยม 1 แห่ง 3. มีการให้บริการ Call center - นำผลงานที่ได้พัฒนาขึ้น ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และขยายไปสู่โรงพยาบาลอื่น ๆ 13 13

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา การส่งเสริมสุขภาพ สถานการณ์ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา ป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น -มีการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในอัตราค่อนข้างสูง ในทุกอำเภอ -แผนการแก้ไขปัญหาไม่ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย - ให้ รพ.ตั้งคลินิกวัยรุ่นให้เป็นรูปธรรมชัดเจน โดยบูรณาการกับงานคลินิกต่าง ๆ ใน รพ.ที่มีอยู่เดิม วิเคราะห์หากลุ่มเป้าหมายให้ชัด เด็ก เรียน ทำงาน อายุ และทำแผนแก้ไขให้ตรงกลุ่ม การจัดให้มียาป้องกันการตั้งครรภ์แกเฉินใน รพ. การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา ควรแนะนำเรื่องการเก็บน้ำนมในรายที่ต้องทำงาน เพื่อให้มารดาสามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างน้อย 6 เดือน 14 14

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา การส่งเสริมสุขภาพ สถานการณ์ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา -การฝากครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ช้า และไม่ได้รับการตรวจหลังคลอด เนื่องจากขาดความรู้และความตระหนัก ส่วนใหญ่ไม่ได้ถูกขึ้นทะเบียนติดตาม - ให้มีมาตรการค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ หญิงหลังคลอดในพื้นที่และจัดทำทะเบียนเพื่อให้ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และเจ้าหน้าที่สามารถติดตามประเมินภาวะตั้งครรภ์ การตรวจหลังคลอด รวมทั้งการรับวัคซีนของเด็กแรกเกิดให้ครบถ้วน - ควรมีการติดตามเยี่ยมในมารดาที่ฝากครรภ์และคลอดในสถานพยาบาลอื่นด้วย - ควรบันทึกการตรวจหลังคลอดในสมุดฝากครรภ์ทุกครั้ง เพื่อส่งต่อข้อมูลให้กับเจ้าหน้าที่ในพื้นที่เยี่ยมหลังคลอดได้ถูกต้อง - ให้คำแนะนำครอบครัวในการใช้สมุดบันทึกแม่และเด็ก เพื่อประเมินภาวะผิดปกติของเด็ก เช่น กราฟส่วนสูง กราฟน้ำหนัก และพัฒนาการ 15 15

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา การรักษาพยาบาล สถานการณ์ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา 1.EMS -การสื่อสารทางวิทยุของรถพยาบาลถ้าระยะทางเกินกว่า 10 กม.ไม่สามารถติดต่อกับ รพ.ได้ -Response time ภายใน 10 นาที คิดเป็นร้อยละ 78.69 ยังไม่ได้ตามเกณฑ์ เนื่องจากพนักงานขับรถเวร On call นอนที่บ้านทำให้มาช้า -รพ.พัฒนาระบบวิทยุสื่อสาร -ขอให้รพ.ทุกแห่งจัดให้พนักงานเวร On call พักใน รพ. 16 16

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา การรักษาพยาบาล สถานการณ์ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก -มีการกำหนดรายการยาสมุนไพรใช้ในหน่วยบริการทุกระดับอย่างน้อย 20 รายการ -ขาดแคลนบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย (รพ.นิคมพัฒนาและรพ.เขาชะเมา และรพ.สต.ตามโครงการสนับสนุนการจัดบริการแพทย์แผนไทย ได้แก่ รพ.สต.บ้านยายร้า และรพ.สต.น้ำใส) - CUPแกลง, CUPวังจันทร์, และCUPปลวกแดง มีการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย โดยการพัฒนาบุคลากรให้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้ช่วยแพทย์แผนไทย 330 ชั่วโมง มีการหมุนเวียนนักการแพทย์แผนไทย -วิเคราะห์สถานการณ์การเงินในภาพรวมของเครือข่าย เงินบำรุง ว่าจะนำเงินก้อนใดมาจ้างบุคลากรได้บ้าง -มีการประชุมพูดคุย ใน คปสอ. 17 17

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา การรักษาพยาบาล สถานการณ์ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา คุณภาพบริการอาชีวอนามัยฯ - ผลประเมินตามแนวทางปฏิบัติการให้บริการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมรพช. อยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน - คุณภาพบริการอาชีวอนามัยฯ ของ รพ.สต.บางแห่งไม่ผ่านมาตรฐาน เร่งรัดพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยฯ ของ รพ.ให้ได้มาตรฐานฯ รพ.ต้องเป็นพี่เลี้ยงด้านวิชาการ ให้ รพ.สต.และ สสอ.สนับสนุนกำกับติดตามในด้านการบริหารจัดการและพัฒนาอย่างต่อเนื่องต่อไป การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรใน รพ. - ตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่แล้ว ยังไม่ได้ประเมินความเสี่ยงหลังตรวจประเมินสิ่งแวดล้อมในการทำงาน - ให้ประเมินตนเองทุกปีและดำเนินงานพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และเป็นพี่เลี้ยง ตัวอย่างให้ รพ.สต. ใน CUP ด้วย - ให้ตรวจประเมินสิ่งแวดล้อมในการทำงานและประเมินความเสี่ยงภาพรวมของหน่วยงาน และรายงานการประเมิน ให้สสจ.ระยอง ทราบ 18 18

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา การรักษาพยาบาล สถานการณ์ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา งานทันตกรรม -ทันตาภิบาล ใน รพ.สต.ไม่เพียงพอ - รพ. จัด ทันตาภิบาล ปฏิบัติงานหมุนเวียนให้บริการทันตกรรม ใน รพ.สต. -เพิ่มกิจกรรมการดำเนินงานในช่องปากของกลุ่มผู้สูงอายุ เด็ก 19 19

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา การฟื้นฟูสมรรถนะ สถานการณ์ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา งานผู้พิการและผู้สูงอายุ - นักกายภาพบำบัดไม่เพียงพอ - มีการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมไม่ต่อเนื่อง - ควรมีการจ้างนักกายภาพประจำใน รพช. หรือ รพ.สต. และบริหารจัดการภายใน CUP -ประสานความร่วมมือกับท้องถิ่นในการจัดกิจกรรม - ควรมีการประเมินสุขภาพจิตอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง มีการประชาสัมพันธ์และมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง 20 20

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา คุ้มครองผู้บริโภค สถานการณ์ ข้อเสนอแนะในการพัฒนา งานอาหารปลอดภัย -ขาดความสม่ำเสมอในการตรวจสอบโดยจนท.และอสม. -ปัญหาสารปนเปื้อนเริ่มกลับมาพบมากขี้น -กำหนดเป้าหมายการตรวจที่ชัดเจนขึ้นในปีต่อไป -ใช้กระบวนการตามกพร. คือ พหุภาคี งานผลิตภัณฑ์สุขภาพ (จุดเด่น) วังจันทร์ -มีแผนชัด+ครบ+ต่อเนื่อง -ลงมือทำร่วมกัน รพ.+สสอ.+เทศบาล -ดึงงบ กองทุนตำบลมาใช้ได้มาก มาบตาพุด -อสม.น้อยของเทศบาล -การจ้างสำรวจข้อมูล (ปี ๕๔) ส่วนขาดที่ต้องดำเนินการ -สินค้าปัญหาในตลาดนัด/ร้านเสริมสวย -กฎหมายใหม่ (primary GMP) เป็นภาระใหญ่ -การโฆษณาในสื่อท้องถิ่น -ความมั่นคงทางยาและเวชภัณฑ์ -เภสัชกร/จพง.เภสัชไม่ครบตามเกณฑ์On top และสปสช. -จนท.ระดับอำเภอใหม่เกือบทุกปี ทักษะน้อย 21 21

สิ่งดีๆ นวัตกรรมในพื้นที่จากการนิเทศงาน หน่วยงาน กิจกรรม คปสอ.บ้านฉาง -การตรวจสอบภายใน รพ.บ้านฉาง มีผลงานครอบคลุมร้อยละ 90 -มีผลงานเด่นการดำเนินงานป้องกันภาวะการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น มีการวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย นำเสนอดี -มีการวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในได้ชัดเจน มีการศึกษาเป็นสถิติย้อนหลัง รพ.สต.ปากแพรก -เตรียมข้อมูลนำเสนอดี ชัดเจน -มี family folder ที่มีประวัติผู้ป่วยในการรับบริการต่าง ๆ -การดำเนินงานวัดรอบเอวมีการติดตามประเมินผลโครงการดีมาก กองทุนสุขภาพตำบลละหาร -ชมเชยการนำเสนอข้อมูลของ ดร.สมเกียรติ จองจิตมั่น ตำแหน่ง ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลละหาร และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสาธารณสุข 22 22

สิ่งดีๆ นวัตกรรมในพื้นที่จากการนิเทศงาน หน่วยงาน กิจกรรม คปสอ.วังจันทร์ -ควรมีการขยายผลรูปแบบ คปสอ.ที่ดี เพื่อถ่ายทอดให้หน่วยงานอื่น ๆ -ชมเชย CUP ที่ดูแล รพ.สต.ดีเป็นพิเศษ -ทีมงานมีความเข้มแข็ง กองทุนสุขภาพชุมชนตำบลพลงตาเอี่ยม -ชื่นชมคุณสุคนธ์ทิพย์ เมืองมา สามารถนำเสนอข้อมูลได้ชัดเจนดี มีส่วนร่วมในการดำเนินงานของรพ.สต. และขอชื่นชมทีมงานที่เข้มแข็ง ฝากงานประกันให้นำภาพรวมของกองทุนไปนำเสนอ -กองทุนสุขภาพชุมชนใน อ.วังจันทร์ มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นที่ปรึกษา 23 23

สิ่งดีๆ นวัตกรรมในพื้นที่จากการนิเทศงาน หน่วยงาน กิจกรรม คปสอ.มาบตาพุด -การนำเสนอดี เพราะนำปัญหามาวิเคราะห์ และดำเนินงานแก้ไขปัญหาของพื้นที่ -การนำเสนอสามารถระบุปัญหา การแก้ไข และผลงานเด่นของแต่ละชุมชนได้ ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เช่น การทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การสร้างชุมชนให้มีส่วนร่วม -ทีมเยี่ยมบ้านรพ.มาบตาพุด มีทีมเยี่ยมบ้านที่ครบทีม โดยเฉพาะมีนักกายภาพบำบัดออกร่วมด้วย กองทุนสุขภาพตำบลนิคมพัฒนา สามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้ตำบลใกล้เคียง และอำเภอในจังหวัดระยอง ชมเชยผู้นำเสนอ นำเสนอได้ชัดเจน คปสอ.เขาชะเมา การนำเสนอข้อมูลการเยี่ยมบ้านครบถ้วน และเห็นชัด สามารถเป็นตัวอย่างอำเภออื่นได้ 24 24

สิ่งดีๆ นวัตกรรมในพื้นที่จากการนิเทศงาน หน่วยงาน กิจกรรม รพ.สต.น้ำเป็น การนำเสนอข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้ชัดเจน ควรเพิ่มข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่นๆ มานำเสนอ เช่น โรคตับ โรคไต คปสอ.เมือง -ชื่นชม Slide ที่นำเสนอกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ -การคัดกรองเบาหวาน ความดัน มีการประเมินผลที่ชัดเจนดี -มีการประเมินรอบเอวกลุ่มประชาชนทั่วไป และอสม. -การดำเนินงานเบาหวาน ความดันโลหิต เป็นอำเภอแรกที่ดำเนินการเต็มรูปแบบ รพ.สต.เพ มีการนำเสนอภาพสาเหตุของปัญหาได้ชัดเจน (ภาพโยงใยแห่งสาเหตุ) 25 25

ขอบคุณ