รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ความเป็นมา พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 5 การลดขั้นตอน การปฏิบัติงาน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ความเป็นมา 1. การพัฒนาคุณภาพการให้บริการ เพื่อประชาชนได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว โปร่งใส เป็นธรรม และเป็นที่พึงพอใจ วัตถุประสงค์ ของรางวัล 2. การสร้างขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน รวมทั้งกระตุ้นให้หน่วยงานมีความมุ่งมั่น และตั้งใจในการทำหน้าที่ให้ดียิ่งขึ้น
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ประเภทรางวัล 1. รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ พิจารณาจากผลการดำเนินการขยายผลการพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนของกระบวนงานบริการหนึ่ง 2. รางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ พิจารณาจากผลการดำเนินการปรับปรุงกระบวนการให้บริการร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐ อย่างน้อย 3 หน่วยงาน ที่ร่วมกันวางแผนร่วมมือพัฒนาบริการภายใต้เป้าหมายเดียวกัน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ประเภทรางวัล 3. รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ พิจารณาจากผลการพัฒนาการให้บริการประชาชน ด้วยการสร้างสรรค์งานบริการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือรูปแบบการให้บริการใหม่ 4. รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ พิจารณาจากผลการพัฒนาการให้บริการประชาชน ด้วยการนำหลักการ แนวคิด เทคนิค เครื่องมือ ต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาบริการ เพื่อให้เกิดรูปแบบการบริการใหม่ การให้บริการที่ทันสมัย การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ประเภทรางวัล 5. รางวัลบริการภาครัฐยอดเยี่ยม พิจารณาจากผลการดำเนินการพัฒนาการให้บริการที่มีความโดดเด่นโดยได้รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ อย่างน้อย 3 ประเภทรางวัล ในระดับดีเด่น
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ การสมัครขอรับรางวัล องค์กรภาครัฐ ประกอบด้วย ส่วนราชการระดับกรม จังหวัด สถาบันอุดมศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การมหาชน และรัฐวิสาหกิจ คุณสมบัติเบื้องต้น วิธีการสมัคร ส่งใบสมัครพร้อมเอกสารประกอบการรับสมัครไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ประมาณเดือนพฤษภาคม
รางวัลความเป็นเลิศ ด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ความเป็นมา พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จของการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม มิติที่ 2 กระบวนการ มีส่วนร่วมที่เอื้ออำนวย มิติที่ 1 ความสามารถของหน่วยงานภาครัฐ มิติที่ 3 การเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของภาคประชาชน
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม วัตถุประสงค์ของรางวัล เพื่อสร้างแรงจูงใจ และกระตุ้นให้ส่วนราชการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหาร ราชการ 1 2 เพื่อเชิดชูผลการดำเนินการที่เป็นต้นแบบที่ดีด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม เพื่อยกระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการไปสู่ความร่วมมือที่เป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น 3
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ระดับการมีส่วนร่วม 5 กระบวนการที่ประชาชนมีโอกาสเข้าร่วมในขั้นตอนต่างๆ ของการบริหาร ประกอบด้วยการมีส่วนร่วมใน 5 ส่วน เสริมอำนาจ (Empower) 4 ร่วมมือ (Collaborate) 3 2 เกี่ยวข้อง (Involve) รับฟังความคิดเห็น (Consult) 1 ให้ข้อมูลข่าวสาร (Inform)
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภทรางวัล 1. รางวัลระดับดีเยี่ยม ผลการดำเนินงานดีเยี่ยมในทุกมิติเป็นที่ประจักษ์ มีความโดดเด่นและน่าสนใจในทุกมิติ รวมทั้งเป็นตัวอย่างให้กับหน่วยงานอื่นได้ 2. รางวัลระดับดี ผลการดำเนินงานดีในทุกมิติ และเป็นผลการดำเนินงานที่สูงกว่ามาตรฐาน 3. รางวัลชมเชย ผลการดำเนินงานในระดับมาตรฐานในทุกมิติ และเป็นผลการดำเนินงานที่ยอมรับได้
จบการนำเสนอ