ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย อาจารย์วารุณี ถีระแก้ว โรงเรียนวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม
Advertisements

(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
ลักษณะของครูที่ดี.
การสร้างและพัฒนาวินัยในตนเอง
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
คุณธรรม 10 ประการ.
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
บุญ.
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
จดหมายข่าว KM สำนักวิชาการ
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
๐๑-คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับผู้บริหาร
ข้อบังคับทหาร ว่าด้วยการเคารพ ตอน ๑ ว่าด้วยการเคารพบนรถ
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
มาตรฐานวิชาชีพครู.
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
สังคหวัตถุ 4 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
“การสร้างองค์กรต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียง โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ” จัดโดย สำนักงาน ปปช. สรุปและนำเสนอโดย ภญ.ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย.
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
ผู้บริหารพบนักเรียน.
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
Ombudsman Talk.
หน้าที่ ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าว อย่างสั้นที่สุดก็คือการให้คนได้เรียนดี เพื่อที่จะ สามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัวให้เป็นหลัก เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
กรอบคิด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๐-๑๑
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
การใช้อำนาจและอิทธิพล
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การเขียน.
ด้านที่ ๓ ผลการดำเนินงาน
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
จุดเน้นวิชาประวัติศาสตร์
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
มาตรฐานฑูตคุณภาพ คุณธรรม ๙ ประการ
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ. ทศพิธราชธรรม ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.

ทศพิธราชธรรม คือ จริยวัตร ๑๐ ประการที่พระเจ้าแผ่นดินทรงพระประพฤติเป็นหลักธรรม ประจำพระองค์ หรือเป็นคุณธรรมประจำตนของผู้ปกครองบ้านเมือง ให้มีความเป็นไปโดยธรรมและยังประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชนจนเกิดความชื่นชมยินดี ซึ่งความจริงแล้วไม่ได้จำเพาะเจาะจงสำหรับพระเจ้าแผ่นดินหรือผู้ปกครองแผ่นดินเท่านั้น บุคคลธรรมดาที่เป็นผู้บริหารระดับสูงในทุกองค์กรก็พึงใช้หลักธรรมเหล่านี้

ทศพิธราชธรรม ๑๐ ประการ ดังนี้ ๑. ทาน หมายถึงการให้ การเสียสละ นอกจากเสียสละทรัพย์สิ่งของแล้ว ยังหมายถึงการให้น้ำใจแก่ผู้อื่นด้วย ๒. ศีล หมายถึงความประพฤติที่ดีงาม ทั้งกาย วาจา และใจ ให้ปราศจากโทษ ทั้งในการปกครอง อันได้แก่ กฎหมายและนิติราชประเพณี และในทางศาสนา ๓. บริจาค หมายถึงการเสียสละความสุขส่วนตน เพื่อความสุขส่วนรวม ๔. ความซื่อตรง หมายถึงความซื่อตรงในฐานะที่เป็นผู้ปกครอง ดำรงอยู่ในสัตย์สุจริต ๕. ความอ่อนโยน หมายถึงการมีอัธยาศัยอ่อนโยน เคารพในเหตุผลที่ควร มีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโสและอ่อนโยนต่อบุคคลที่เสมอกันและต่ำกว่า

ทศพิธราชธรรม ๑๐ ประการ ดังนี้ ๖. ความเพียร หมายถึงมีความอุตสาหะในการปฏิบัติงานโดยปราศจากความเกียจคร้าน ๗. ความไม่โกรธ หมายถึงความไม่แสดงความโกรธให้ปรากฏ ไม่มุ่งร้ายผู้อื่นแม้จะลงโทษผู้ทำผิดก็ทำตามเหตุผล ๘. ความไม่เบียดเบียน หมายถึงการไม่เบียดเบียน หรือบีบคั้น ไม่ก่อทุกข์หรือเบียดเบียนผู้อื่น ๙. ความอดทน หมายถึงการมีความอดทนต่อสิ่งทั้งปวง รักษาอาการ กาย วาจา ใจให้เรียบร้อย ๑๐. ความยุติธรรม หมายถึงความหนักแน่น ถือความถูกต้อง เที่ยงธรรมเป็นหลัก ไม่เอนเอียงหวั่นไหวด้วยคำพูด อารมณ์ หรือลาภสักการะใดๆ