การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่างสำหรับนักทรัพยากรบุคคล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
แบบฟอร์มการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การประเมินองค์กรแบบสมดุล (The Balance Scorecard by Kaplan & Norton)
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
หมวด2 9 คำถาม.
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
แผนการดำเนินการ ระยะที่ 2 มิ.ย. 48ก.ค. 48ส.ค. 48ก.ย มี.ค คกก.GG 27 คทง. Blueprint คทง.จัดทำ ข้อมูล 14 Work shop II ส่ง ข้อเสนอ การ เปลี่ยนแป.
กรณีความเสี่ยง DMSc.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
กลุ่มที่ 1.
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการแนวใหม่
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
การทบทวนตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ ประจำปี 2555 สสจ
และค่าเป้าหมายรายบุคคล
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่างสำหรับนักทรัพยากรบุคคล (Goal Cascading for HR Professionals)

จุดมุ่งหมาย ความชัดเจนของเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน ในระดับองค์กร ความเชื่อมโยงระหว่างเป้าหมายผลการปฏิบัติงานขององค์กร และหน่วยงานที่อยู่ภายใต้องค์กร

(Key Performance Indicators : KPIs) เป้าหมายผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ผลสำเร็จของงาน (Performance Goal) ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators : KPIs) ค่าเป้าหมาย (Target)

KPI TARGET การกำหนดค่าเป้าหมาย (Targets) การกำหนด “ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators : KPIs) ตัวชี้วัด (KPIs) เป็นดัชนีหรือหน่วยวัดความสำเร็จของการปฏิบัติงานที่กำหนดขึ้น โดยเป็นหน่วยวัดที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของงาน และสามารถแยกแยะความแตกต่างของผลการปฏิบัติงานได้ เพราะฉะนั้น ตัวชี้วัดต้องใช้คำขึ้นต้นเป็นหน่วยวัดเสมอ เช่น ร้อยละ จำนวน ระดับ เป็นต้น การกำหนดค่าเป้าหมาย (Targets) ค่าเป้าหมาย ในที่นี้ หมายถึง เป้าหมายในเชิงปริมาณ ที่ทำให้แยกแยะได้ว่า การปฏิบัติงานประสบความสำเร็จ ตามตัวชี้วัด (KPIs) ที่กำหนดไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด ภายในระยะเวลาที่ระบุไว้อย่างชัดเจน

ประเภทของตัวชี้วัด KRA หน่วย/วัน จำนวนโทรศัพท์/ชั่วโมง จำนวนShipment/ไตรมาส จำนวนหน่วยที่ผลิต ปริมาณการให้บริการ จำนวนโครงการที่สำเร็จ จำนวนชิ้นงานที่ผลิตได้ จำนวนโทรศัพท์ที่รับสาย ประเภทของตัวชี้วัด Specification ข้อร้องเรียน คำชม ความพึงพอใจของลูกค้า KPIs : ด้านคุณภาพ (Quality) KPIs : ด้านปริมาณ (Quantity) KRA KPIs : ด้านกำหนดเวลา (Timeliness) KPIs : ด้านความคุ้มค่าของต้นทุน (Cost-Effectiveness) จำนวนเงินที่ใช้จ่าย จำนวนคำแนะนำที่มีการปฏิบัติตาม จำนวนเงินที่ใช้จ่ายเกินงบประมาณที่ตั้งไว้ ค่าใช้จ่ายนอกเหนืองบประมาณ ตารางการทำงานสำเร็จตามแผน งานเสร็จตามวันครบกำหนด ส่งงานตามกำหนดการ งานเสร็จภายใน Cycle time

ประเภทของตัวชี้วัดที่เหมาะสมกับข้าราชการในแต่ละระดับ ผลที่ได้รับตามมา (Outcome) ผู้บริหารองค์กร ตัวชี้วัดที่เหมาะสม ผลที่ได้รับตามมา (Outcome) ผลลัพธ์ (Output) หัวหน้าหน่วยงาน ตัวชี้วัดที่เหมาะสม ผลลัพธ์ (Output) กระบวนการทำงาน (Process) ผู้ปฏิบัติงาน ผลที่ได้รับตามมา (Outcome) ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ จำนวนบริษัทเอกชนที่ปฏิบัติตามนโยบายที่กำหนด ผลผลิต (Output) จำนวนรายงานที่จัดทำแล้วเสร็จในเวลาที่กำหนด ร้อยละของหลักสูตรที่สามารถจัดอบรมตามแผน กระบวนการทำงาน (Process) จำนวนวันที่ใช้ในการดำเนินการเฉลี่ย ร้อยละเอกสารที่จัดส่งได้อย่างถูกต้อง

เป้าหมายผลการปฏิบัติงาน จากองค์กร สู่หน่วยงาน การกำหนด และถ่ายทอดเป้าหมาย ผลการปฏิบัติงานจากองค์กรสู่หน่วยงาน กำหนด และถ่ายทอด เป้าหมายผลการปฏิบัติงาน จากองค์กร สู่หน่วยงาน หัวหน้า และรองหัวหน้าส่วนราชการ หรือจังหวัด หัวหน้าหน่วยงานระดับสำนัก/กอง หรือเทียบเท่า หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล

การกำหนด และถ่ายทอดเป้าหมาย ผลการปฏิบัติงานจากองค์กร สู่หน่วยงาน เน้นการสร้างความชัดเจนในเป้าหมายผลการปฏิบัติงานตามลำดับชั้น เริ่มตั้งแต่ความชัดเจน และเป็นปัจจุบันของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานในระดับองค์กร ซึ่งมีความสัมพันธ์ และเป็นสาเหตุของความชัดเจนของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานในระดับอื่นๆ เมื่อส่วนราชการมีความชัดเจนในเป้าหมายผลการปฏิบัติงานระดับองค์กรแล้ว จึงจะสามารถเริ่มถ่ายทอดเป้าหมายผลการปฏิบัติงานลงไป สู่หน่วยงาน และผู้รับผิดชอบตามลำดับชั้นการบังคับบัญชา โดยมุ่งเน้นที่ความสอดคล้องอย่างเป็นเหตุเป็นผลกัน

กำหนดเป้าหมาย ในระดับองค์กร และรองหัวหน้าส่วนฯ ให้ชัดเจน ถ่ายทอดเป้าหมาย ตามลำดับชั้น ตรวจสอบ การดำเนินการ ที่ผ่านมา

ระบุ เป้าประสงค์ หรือ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ กำหนดเป้าหมาย ในระดับองค์กร และรองหัวหน้าส่วนฯ ให้ชัดเจน ทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ขององค์กร ตลอดจนศึกษานโยบายภาครัฐ ความต้องการของประชาชน และสถานการณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ระบุ เป้าประสงค์ หรือ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (Key Success Factors) ที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ ระบุ ตัวชี้วัด (KPIs) และตัวเลขเป้าหมาย ที่สอดคล้องกับ เป้าประสงค์ หรือ ปัจจัยสู่ความสำเร็จขององค์กร ระบุ รองหัวหน้าส่วนราชการ หรือจังหวัด ที่รับผิดชอบ เป้าประสงค์ และ ตัวชี้วัด (KPIs) แต่ละข้อขององค์กร

ทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร์ของ ทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร์ขององค์กร ตลอดจนศึกษาถึงนโยบายภาครัฐ ความต้องการของประชาชน และสถานการณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร์ของ องค์กร ซึ่งระบุในแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนบริหารราชการแผ่นดิน ตลอดจนศึกษานโยบายภาครัฐ เช่น คำรับรองการปฏิบัติราชการ ความต้องการของประชาชน และสถานการณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อความชัดเจนของทิศทางในการกำหนดเป้าหมาย ผลการปฏิบัติงานระดับองค์กรประจำปีงบประมาณ

ระบุ เป้าประสงค์ หรือ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (Key Success Factors) ที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์

ระบุ เป้าประสงค์ หรือ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (Key Success Factors) ที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่วนราชการอาจเลือกใช้เทคนิคการทำ แผนที่เชิงกลยุทธ์ (Strategy Map) เพื่อสร้างความชัดเจนถึงความเชื่อมโยงของเป้าประสงค์ในแต่ละมิติ

Example แผนที่เชิงกลยุทธ์ (Strategy Map) ั

ระบุ ตัวชี้วัด (KPIs) และตัวเลขเป้าหมาย ที่สอดคล้องกับ เป้าประสงค์ หรือ ปัจจัยสู่ความสำเร็จขององค์กร เป้าประสงค์ 1 เป้าประสงค์ 3 เป้าประสงค์ 2 KPI No.2 KPI No.3 KPI No.1 KPI No.4

ส่วนราชการอาจเลือกใช้รูปแบบของBalanced Scorecard เพื่อบันทึก เป้าประสงค์ และตัวชี้วัด (KPIs) เพื่อกำหนดเป็น Organizational Scorecard

Organizational Scorecard ที่มา เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด (KPIs) ข้อมูลพื้นฐาน ปีงบประมาณ ที่ผ่านมา เกณฑ์การให้คะแนน ผู้รับ ผิดชอบ 1 2 3 4 5 มิติที่ 1 ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ แผนฯ 4 ปี xxxxx - x คำรับรองฯ มิติที่ 2 คุณภาพการให้บริการ มิติที่ 3 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร Organizational Scorecard เกณฑ์ในการให้คะแนน หรือค่าตัวเลขเป้าหมายที่มาจากคำรับรองการปฏิบัติราชการ จะมีการกำหนดไว้เป็น 5 ระดับแล้วแต่เกณฑ์ในการให้คะแนน หรือค่าตัวเลขเป้าหมายที่มาจากแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี จะปรากฏตัวเลขเป้าหมาย 1 ระดับเท่านั้น

รองหัวหน้า ส่วนราชการฯ ระบุ รองหัวหน้าส่วนราชการ หรือจังหวัด ที่รับผิดชอบ เป้าประสงค์ และ ตัวชี้วัด (KPIs) แต่ละข้อขององค์กร รองหัวหน้า ส่วนราชการฯ

กำหนดเป้าหมาย ในระดับองค์กร และรองหัวหน้าส่วนฯ ให้ชัดเจน ถ่ายทอดเป้าหมาย ตามลำดับชั้น

ขั้นตอนการวางแผนและถ่ายทอดเป้าหมายการปฏิบัติงาน กำหนดร่าง ข้อตกลง ผู้บริหาร รับถ่ายทอด เป้าหมาย ให้ผู้บังคับ บัญชา ยืนยัน ถ่ายถอด เป้าหมาย ให้ผู้ใต้บังคับ บัญชา รับถ่ายทอด เป้าหมาย หัวหน้าหน่วยงาน กำหนดร่าง ข้อตกลง ถ่ายถอด เป้าหมาย ให้ผู้ใต้บังคับ บัญชา รับถ่ายทอด เป้าหมาย ให้ผู้บังคับ บัญชา ยืนยัน ให้ผู้บังคับ บัญชา ยืนยัน กำหนดร่าง ข้อตกลง ผู้ปฏิบัติงาน

ถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดลงมาจากระดับองค์กร 1. การถ่ายทอดเป้าหมายผลการปฏิบัติงานลงมาโดยตรง ตัวชี้วัดหัวหน้า ส่วนราชการ ผลสัมฤทธิ์หลัก(เป้าประสงค์) ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ส่วนราชการมีการจัดการองค์ความรู้ที่สำคัญอย่างเป็นระบบ ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ ระดับ ตัวชี้วัดรองหัวหน้า ส่วนราชการ ผลสัมฤทธิ์หลัก(เป้าประสงค์) ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ส่วนราชการมีการจัดการองค์ความรู้ที่สำคัญอย่างเป็นระบบ ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ ระดับ ตัวชี้วัดผู้อำนวยการ สำนัก/กอง ผลสัมฤทธิ์หลัก(เป้าประสงค์) ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ส่วนราชการมีการจัดการองค์ความรู้ที่สำคัญอย่างเป็นระบบ ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ ระดับ

ถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดลงมาจากระดับองค์กร 2. การถ่ายทอดเป้าหมายผลการปฏิบัติงานโดยการแบ่งค่าตัวเลขเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก(เป้าประสงค์) ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ผลผลิตข้าวหอมมะลิต่อไร่เพิ่มขึ้น จำนวน ผลผลิตข้าวหอมมะลิต่อไร่(กก./ไร่) 412 414 417 419 422 ตัวชี้วัด เกษตรจังหวัด ผลสัมฤทธิ์หลัก(เป้าประสงค์) ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ผลผลิตข้าวหอมมะลิต่อไร่ของอำเภอ ก เพิ่มขึ้น จำนวน ผลผลิตข้าวหอมมะลิต่อไร่ของอำเภอ ก (กก./ไร่) 429 431 434 436 439 ตัวชี้วัด เกษตรอำเภอ ผลสัมฤทธิ์หลัก(เป้าประสงค์) ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ผลผลิตข้าวหอมมะลิต่อไร่ของตำบล ค เพิ่มขึ้น จำนวน ผลผลิตข้าวหอมมะลิต่อไร่ของตำบล ค (กก./ไร่) 420 425 430 435 440 ตัวชี้วัดผู้ปฏิบัติงาน ค่าตัวเลขเป้าหมายของผู้ใต้บังคับบัญชาทุกคน ในระดับเดียวกันรวมแล้ว เท่ากับหรือมากกว่า ค่าตัวเลขเป้าหมายของผู้บังคับบัญชา

การถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดลงมาจากระดับจังหวัด เกษตรจังหวัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 จำนวน ผลผลิตข้าวหอมมะลิต่อไร่(กก./ไร่) 412 414.5 417 419.5 422 ตัวชี้วัด เกษตรอำเภอ ก ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 จำนวน ผลผลิตข้าวหอมมะลิต่อไร่ของอำเภอ ก (กก./ไร่) 429 431.5 434 436.5 439 ตัวชี้วัด เกษตรอำเภอ ข ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 จำนวน ผลผลิตข้าวหอมมะลิต่อไร่ของอำเภอ ข (กก./ไร่) 429 434 439 444 449 ตัวชี้วัด นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว(รับผิดชอบตำบล ค) ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 จำนวน ผลผลิตข้าวหอมมะลิต่อไร่ของตำบล ค (กก./ไร่) 420 425 430 435 440 ตัวชี้วัด นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว(รับผิดชอบตำบล ง) ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 จำนวน ผลผลิตข้าวหอมมะลิต่อไร่ของตำบล ง (กก./ไร่) 410 415 420 425 430

ถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดลงมาจากระดับองค์กร 3. การถ่ายทอดเป้าหมายที่ผู้ใต้บังคับบัญชาได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานเพียงบางด้าน ตัวชี้วัด ผู้อำนวยการ ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศฯ ผลสัมฤทธิ์หลัก(เป้าประสงค์) ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ระบบเครือข่ายสารสนเทศภายในมีความพร้อมใช้งาน จำนวนครั้งที่ระบบระบบเครือข่ายสารสนเทศไม่สามารถใช้งานได้เกินกว่า 48 ชั่วโมง (ต่อปี) ผู้ปฏิบัติงานที่ รับผิดชอบการ ดูแลรักษาระบบ เครือข่ายฯ ผลสัมฤทธิ์หลัก(เป้าประสงค์) ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 สามารถตรวจซ่อมระบบเครือข่ายสารสนเทศให้สามารถใช้งานได้ภายในเวลาที่กำหนด จำนวนครั้งที่ระบบเครือข่ายไม่สามารถใช้งานได้แล้วเจ้าหน้าที่ไม่สามารถแก้ไขให้ใช้งานได้ตามปกติภายใน 24 ชั่วโมง(ต่อปี) ผู้ปฏิบัติงานที่ รับผิดชอบการ อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการใช้งาน ระบบเครือข่ายฯ ผลสัมฤทธิ์หลัก(เป้าประสงค์) ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ผู้ใช้งานระบบเครือข่ายมีความรู้เกี่ยวกับการใช้งานระบบอย่างถูกต้อง ร้อยละผู้ใช้งานที่สอบผ่านการทดสอบความรู้เกี่ยวกับการใช้งานระบบเครือข่าย 65 70 75 80 85

การถ่ายทอดเป้าหมายผลการปฏิบัติงานลงสู่หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด จากส่วนราชการ ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น (Immediate Supervisor) ของจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด

ประเด็นยุทธศาสตร์/ที่มา คำรับรองการปฏิบัติราชการ จังหวัด ก. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550 (ดัดแปลงเพื่อใช้เป็นตัวอย่างในการฝึกอบรมนี้เท่านั้น) ประเด็นยุทธศาสตร์/ที่มา เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ข้อมูล พื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนน ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 มิติที่ 1 ประสิทธิผล (กจว.)2.การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะลิ ให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นปลอดภัยจากสารพิษ ผลผลิตข้าวหอมมะลิที่เพิ่มขึ้น จำนวนผลผลิตข้าวหอมมะลิ (กก./ไร่) 400 412 414.5 417 419.5 422 เกษตรจังหวัด คำรับรองฯ ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. 18,024 10 20 30 40 50 พัฒนาการจังหวัด มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ - หัวหน้าสำนักงานจังหวัด ตัวอย่าง

หัวหน้าสำนักงานจังหวัด การถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดลงมาจากระดับจังหวัด ตัวอย่าง ตัวชี้วัดผู้ว่าฯ ตัวชี้วัดจาก ส่วนราชการ ตัวชี้วัดรองผู้ว่าฯ ตัวชี้วัด หัวหน้าส่วนราชการ ประจำจังหวัด ตัวชี้วัด หัวหน้าส่วนราชการ ประจำจังหวัด ตัวชี้วัด หัวหน้าสำนักงานจังหวัด ตัวชี้วัด พัฒนาการจังหวัด

หัวหน้าสำนักงานจังหวัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ตัวชี้วัด หัวหน้าสำนักงานจังหวัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวชี้วัด หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ตัวชี้วัด หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ตัวชี้วัด ผู้ใต้บังคับบัญชาของหัวหน้ากลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ตัวชี้วัด ผู้ใต้บังคับบัญชาของหัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5

ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. 10 20 ตัวชี้วัด พัฒนาการจังหวัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. 10 20 30 40 50 ตัวชี้วัด พัฒนาการอำเภอ ก ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ตัวชี้วัด พัฒนาการอำเภอ ข ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ตัวชี้วัด นักวิชาการพัฒนาชุมชน 6ว(รับผิดชอบตำบล ค และ ง) ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ตัวชี้วัด เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชน 5 (รับผิดชอบตำบล จ และ ฉ) ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5

ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. 10 20 ตัวชี้วัด พัฒนาการจังหวัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. 10 20 30 40 50 ตัวชี้วัด พัฒนาการอำเภอ ก ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ของอำเภอ ก - 15 20 25 ตัวชี้วัด พัฒนาการอำเภอ ข ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ของอำเภอ ข - 35 40 45 ตัวชี้วัด นักวิชาการพัฒนาชุมชน 6ว(รับผิดชอบตำบล ค และ ง) ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ของตำบล ค และ ง 10 15 20 25 ตัวชี้วัด เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชน 5 (รับผิดชอบตำบล จ และ ฉ) ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ของตำบล จ และ ฉ 10 15 20 25

การวางแผนเพื่อหาข้อตกลงผลการปฏิบัติงานรายบุคคล ผู้บังคับบัญชาในลำดับชั้นถัดขึ้นไป ผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคน หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล

จุดมุ่งหมาย ความชัดเจนใน เป้าหมายผลการปฏิบัติงาน ของผู้ใต้บังคับบัญชา ความชัดเจนใน สมรรถนะเป้าหมาย ของผู้ใต้บังคับบัญชา

เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย หัวหน้ากำหนด กระบวนการทำงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ผู้บังคับบัญชากำหนดกระบวนงาน หรือแนวทางในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ก่อนที่ผู้บังคับบัญชาจะกำหนดเป้าหมายผลการปฏิบัติงานสำหรับผู้ใต้บังคับบัญชา จำเป็นต้องมีการกำหนดกระบวนการทำงาน หรือวางแนวทางในการปฏิบัติงานภายในหน่วยงาน ซึ่งได้มาจากการศึกษาหรือรวบรวมข้อมูลจากสถานการณ์จริงที่หน่วยงานเผชิญอยู่เสียก่อน โดยเฉพาะในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาได้รับเป้าหมายผลการปฏิบัติงานที่มีความท้าทาย และจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน ความชัดเจนในกระบวนงาน หรือแนวทางในการปฏิบัติงานใหม่นี้จะช่วยให้ผู้บังคับบัญชากำหนดเป้าหมายผลการปฏิบัติงานสำหรับผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคนได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย หัวหน้ากำหนด กระบวนการทำงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย จัดทำข้อตกลง ผลการปฏิบัติงานกับ ผู้ใต้บังคับบัญชา แต่ละคน ค้นหา ผลสัมฤทธิ์หลัก (KRAs) ที่ต้องการจากผู้ใต้บังคับบัญชา กำหนดตัวชี้วัด (KPIs) และค่าเป้าหมาย (Targets) การกำหนดน้ำหนักสำหรับตัวชี้วัด (KPIs) กำหนดรอบการประเมินของตัวชี้วัด (KPIs) กำหนดระยะเวลาในการติดตามฯ และวิธีการเก็บข้อมูลฯ ชี้แจงถึงสมรรถนะที่คาดหวัง (Targeted Competency) กำหนดข้อตกลงผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นทางการ

องค์ประกอบสำคัญ ของข้อตกลงผลการปฏิบัติงาน

การค้นหา ผลสัมฤทธิ์หลัก (KRAs) ที่ต้องการ หากปฏิบัติงานแล้วไม่สามารถทำให้เกิด ผลสัมฤทธิ์หลัก ที่ต้องการได้ หมายความว่า การปฏิบัติงานครั้งนั้นล้มเหลวหรือไม่เป็นไปตามเป้าหมาย เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายในด้านอื่นๆ

วิธีคิด/คำถามเพื่อค้นหา ผลสัมฤทธิ์หลัก (KRAs)

KRA KPI ตัวอย่าง อะไรเป็นกิจกรรมที่ใช้ในการทำงาน (เพื่อให้เป้าหมายของหน่วยงานสำเร็จต้องทำอะไรบ้าง) อะไรเป็นผลจาก การทำกิจกรรมนั้นๆ อะไรเป็น ผลสัมฤทธิ์หลัก ที่คาดหวัง สิ่งที่ต้องการวัดความสำเร็จ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคของจังหวัด และ รับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ - ปัญหาเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในจังหวัดได้รับการแก้ไข ร้อยละ ของเรื่องที่สามารถหาข้อยุติได้ เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเทียบกับจำนวนเรื่องทั้งหมดที่เกิดขึ้น จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรของจังหวัด แผนพัฒนาการเกษตรของจังหวัด มีโครงการสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และตรงกับความต้องการของพื้นที่ โครงการตามแผนพัฒนาการเกษตรของจังหวัด ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ ของโครงการ ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ดูแลงานบริหารทั่วไปเพื่อสนับสนุนการดำเนินการของ สำนักงานให้เป็นไปด้วยความราบรื่น หน่วยงานภายในสำนักงาน มีความสะดวกในการดำเนินการตามแผนงาน โครงการที่เกี่ยวข้อง ความพึงพอใจของข้าราชการในสำนักงานที่มาจากการได้รับบริการ ร้อยละ ของความพึงพอใจของผู้รับบริการจากงานบริหารทั่วไปภายในสำนักงาน งานด้านวินัยและการดูแลลูกจ้าง ส่วนราชการมีลูกจ้างที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละของลูกจ้างที่ได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดี

แบบช่วยวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์หลัก และตัวชี้วัด ของตำแหน่ง.................................................. - อะไรเป็นกิจกรรมที่ใช้ในการทำงาน - เพื่อให้เป้าหมายของหน่วยงานสำเร็จต้องทำอะไรบ้าง อะไรเป็นผลจากการทำกิจกรรมนั้นๆ อะไรเป็นผลสัมฤทธิ์หลักที่คาดหวัง (KRAs) อะไรเป็นสิ่งที่ต้องการวัดความสำเร็จ (KPIs)

ข้อพึงระวังในการกำหนดตัวชี้วัด ความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล ปริมาณของตัวชี้วัดที่เหมาะสม ความท้าทาย และการนำไปสู่การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ

Example ตัวชี้วัดที่มีการกำหนดคำอธิบายประกอบในค่าเป้าหมาย ในบางกรณีไม่สามารถกำหนดตัวชี้วัด (KPIs)ในรูปของหน่วยวัดที่แสดงผลออกมาเป็นตัวเลขได้ เราอาจใช้การกำหนดตัวเลขระดับความสำเร็จ พร้อมกำหนดคำอธิบายประกอบด้วย Example ระดับคุณภาพ ในการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง

KPIs Target ข้อควรระวังสำหรับการกำหนดค่าเป้าหมาย ร้อยละความพึงพอใจ ของผู้รับบริการด้านฯ ระดับที่ 1 ระดับที่ 2 ระดับที่ 3 ระดับที่ 4 ระดับที่ 5 50 60 70 80 90 KPIs Target ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ข้อควรระวังสำหรับการกำหนดค่าเป้าหมาย 1. หากมีการกำหนดค่าเป้าหมาย ในระดับที่ 5 ง่ายเกินไป ในต้นรอบการประเมินเมื่อถึงปลายรอบการประเมิน จะแยกแยะผู้ปฏิบัติดีเด่น ออกจากผู้ปฏิบัติปกติได้ยาก 2. การกำหนดค่าเป้าหมาย ในระดับที่ 5 ที่ไม่สามารถดำเนินการได้จริง ถือเป็นความไม่เป็นธรรมของผู้บังคับบัญชา และเป็นการลดแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน

โดยการจัดเป็นระดับความสำคัญ การกำหนดน้ำหนักสำหรับตัวชี้วัด (KPIs) ลำดับ ตัวชี้วัด KPIs ระดับค่าเป้าหมาย ผล น้ำหนัก (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 ตัวชี้วัดที่ 1 30 ตัวชี้วัดที่ 2 25 ตัวชี้วัดที่ 3 20 ตัวชี้วัดที่ 4 15 ตัวชี้วัดที่ 5 10 การกำหนดน้ำหนัก โดยอิสระ ผลรวม เท่ากับ 100 ลำดับ ตัวชี้วัด KPIs ระดับค่าเป้าหมาย ระดับ ความสำคัญ 1 2 3 4 5 ตัวชี้วัดที่ 1 สำคัญมาก ตัวชี้วัดที่ 2 ตัวชี้วัดที่ 3 สำคัญปานกลาง ตัวชี้วัดที่ 4 สำคัญน้อย ตัวชี้วัดที่ 5 การกำหนดน้ำหนัก โดยการจัดเป็นระดับความสำคัญ กำหนดให้ ระดับสำคัญมาก ใช้ตัวคูณ 3 ระดับสำคัญ ใช้ตัวคูณ 2 ระดับสำคัญน้อย ใช้ตัวคูณ 1 องค์กร หรือหน่วยงานสามารถกำหนดได้เอง

ระบุรอบการประเมินที่ชัดเจนสำหรับแต่ละตัวชี้วัด เป้าหมายผลการปฏิบัติงาน ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติงาน ความสำคัญ ระดับค่าเป้าหมาย ความสอดคล้อง กับเป้าหมาย ขององค์กร รอบการประเมิน (1) ต้องปรับปรุง (2) ต่ำกว่า ที่คาดหวัง (3) บรรลุ ตามที่คาดหวัง (4) เกินกว่า ที่คาด หวัง (5) ดีเด่น เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (เป้าหมายที่สอดคล้องกับเป้าหมายผลการปฏิบัติงานในระดับองค์กร) xxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xx x xxx รอบที่ 1 รอบที่ 2 เป้าหมายงานด้านอื่นๆ (เป้าหมายงานตามภารกิจ หรืองานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ) xxxxxxxxxx ระบุรอบการประเมินที่ชัดเจนสำหรับแต่ละตัวชี้วัด

ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาสามารถตรวจสอบ เป้าหมายผลการปฏิบัติงาน แต่ละข้อที่กำหนดขึ้น โดยพิจารณาถึง องค์ประกอบ 5 ประการ ของเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน ดังต่อไปนี้ □ ชัดเจน (Specific) □ วัดประเมินได้ (Measurable) □ สอดคล้องต่อเป้าหมายระดับบน (Align with Higher Level Goals) □ เป็นไปได้และท้าทาย (Realistic But Challenging) □ ระบุรอบเวลาการประเมิน (Time Bound)

กำหนดระยะเวลาในการติดตามผลการปฏิบัติงาน และวิธีการเก็บข้อมูลผลการปฏิบัติงาน กำหนดระยะเวลาในการติดตามผลการปฏิบัติงาน ในระหว่างการดำเนินการวางแผนเพื่อกำหนดข้อตกลงผลการปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชายังต้องกำหนดระยะเวลาในการติดตามผลการปฏิบัติงานกับผู้ใต้บังคับบัญชาอีกด้วย อาจกำหนดให้มีการประชุมเพื่อการติดตามผลการปฏิบัติงานเป็นรายเดือน พร้อมทั้งระบุวันที่ในการดำเนินการติดตามผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นทางการ

กำหนดระยะเวลาในการติดตามผลการปฏิบัติงาน และวิธีการเก็บข้อมูลผลการปฏิบัติงาน ในบางกรณีผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาอาจจำเป็นต้องกำหนด วิธีการจัดเก็บข้อมูล ตลอดจนบุคคล และเอกสารอ้างอิงเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานอีกด้วย โดยเฉพาะในกรณีข้อมูลเชิงประจักษ์ที่หาได้ยาก มีแหล่งอ้างอิงมากกว่า 1 แหล่ง หรือมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการจัดเก็บข้อมูลเป็นพิเศษ ตัวอย่างการบันทึก วิธีการเก็บข้อมูล ในกรณีพิเศษ

ถาม-ตอบ