ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าหลัก ข้อมูลทั่วไป ภูมิประเทศ พืชพรรณและสัตว์ป่า ยอดภูเรือ
Advertisements

ขนมดอกดิน ผู้จัดทำ กรองทอง ใสยิ่ง ช่อทิพย์ แก้วซ้อน ทิพย์วิมล ตันศรี
ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
รุ้งพิเศษสำหรับท่าน เมฆมีขอบเป็นสีน้ำเงินทั้งนั้น และแต่ละวันที่
Quick Index. การใช้หนังสือคู่มือดูนกภาคสนาม A Field Guide to the Birds Of Thailand โดย Robson (2002)
ก่อนจะเหลือแค่ตำนาน คุณบุญเลิศ อินสุวรรณโณ
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
1.ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
โดย นางนพวรรณ จักษุสุวรรณ
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
สรุป เนื่องจากดูเหมือนว่าสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดลักษณะการกระจายของพืชพรรณ ดังนั้นถ้าบริเวณใดมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเหมือนที่เกิดขึ้นตามเส้นรุ้ง ก็น่าจะมีลักษณะของพืชพรรณเหมือนกันด้วย.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
“ไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดใด ที่สามารถอยู่ได้ตามลำพัง”
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
Habit of Plant……....
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
ข้อมูลปัญหาที่นำมาใช้เพื่อการออกแบบสวน
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
การจำแนกพืช.
นางสาว โศจิรัตน์ หลงอุย เลขประจำตัว คณะศึกษาศาสตร์
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
สถานที่ท่องเที่ยวอำเภอ สามร้อยยอด
แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ
การสำรวจทรัพยากรป่าไม้
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
วิวัฒนาการ เต่าทะเล.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
นางสาวเยียรมัย เพ็งสวัสดิ์
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
Biomes of the World.
Next.
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ไบโอม (biomes) ว ชีววิทยาพื้นฐาน คุณครูฉัตรสุดา สุยะลา
Biomes of the World.
พืชผักล้านนา จัดทำโดย เด็กชายศิวกร เที่ยงศรี ชั้น ม.1/1 เลขที่ 42 เสนอ
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
จัดทำโดย ด. ช. ณัฐธัญ สร้างนา โรงเรียนบ้านนาหนองทุ่ม อ. แก้งคร้อ จ. ชัยภูมิ
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของสัตว์ เสนอ ครู ภัทรศยา เย็นเมือง โดย เด็กหญิง อนุสรา เนตรเจริญ เด็กหญิง ดาวเรือง ดับโศรก เด็กชาย อนุวัฒน์ นูแป ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
หญ้าแฝกพืชมหัศจรรย์ นำเสนอโดย กลุ่มสัตว์ปีก.
21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก โดยจำแนกตามระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล

1.ป่าดงดิบหรือป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest) ป่าประเภทนี้มีประมาณ 30% ของเนื้อที่ป่าทั้งประเทศ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้ชนิดไม่ผลัดใบคือ มีใบเขียวตลอดเวลา

ป่าดิบเขา ส่วนใหญ่อยู่บนเขาสูง ต้นไม้เขียวชอุ่มตลอดปี พบที่ภาคเหนือของประเทศไทย มีทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้ดอกสวยงาม มอส เฟิร์น ไลเคน เกิดขึ้นอย่างหนาแน่น นอกจากนี้ยังมีพวกกล้วยไม้ และพืชพวกปรสิตอีกมากมาย

ป่าชายเลน หรือเรียกอีกชื่อหนี่งคือ ป่าไม้โกงกาง เป็นป่าไม้ประเภทไม่ผลัดใบ ขึ้นตามริมฝั่งทะเลในประเทศไทย พบป่าชายเลนที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ภาคกลางและภาคใต้ ลักษณะพืชต้องทนต่อน้ำที่มีความเค็มและมีออกซิเจนน้อย

ป่าชายเลน

ป่าพรุ เป็นป่าที่ขึ้นอยู่ในบริเวณพื้นที่พรุที่เต็มไปด้วยซากพืชที่กองทับถมกัน ในเวลาที่มีน้ำท่วมขังตลอดทั้งปี พันธุ์พืชในป่าพรุมีทั้งพืชล้มลุก ไม้เถา ไม้พุ่ม ไม้ยืนต้น

ป่าพรุ

2.ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest)

ป่าเบญจพรรณ เป็นป่าไม้ผลัดใบ ที่ต้นไม้ส่วนใหญ่พบทั้งในฤดูร้อน และผลิใบใหม่ในฤดูฝนขึ้นอยู่ทุกภาคของประเทศไทย มีพันธุ์ไม้มีค่าหลายชนิด เช่น ไม้สัก ไม้แดง ไม้ประดู่ ไม้มะค่า

ป่าเต็งรัง ชาวบ้านเรียกว่า ป่าแพะ เพราะมักขึ้นบนดินที่เป็นดินลูกรังสีแดง คล้ายขี้แพะ เป็นป่าโปร่งพบมากตาม ภาคอีสานของไทย บริเวณพื้นที่ป่า เป็นทุ่งหญ้าเหมาะสำหรับเป็นอาหาร ของสัตว์ป่า พืชส่วนใหญ่เป็นตระกูลยาง เช่น ไม้เต็ง ไม้รัง เมล็ดของพันธุ์พืชพวกนี้ มีปีกช่วยพยุงให้กระจายพันธุ์ ไปไกลจากต้นได้

ที่มา : อภิเษก ปั้นสุวรรณ ที่มา : อภิเษก ปั้นสุวรรณ.เอกสารประกอบการสอนวิชาการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.2541. http://www.environnet.in.th/kids/evdb/forest/forest02.html http://www.se-ed.net/savebird/Forest.htm#4 http://www.dnp.go.th/MFCD14/index_link/varieties/dataforestK.G.htm