“ เรียนให้ใฝ่รู้ เรียนให้ใฝ่ดี เรียนให้มีงานทำ ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

Knowledge Management (KM)
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ประเภทของระบบสารสนเทศ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
หลักระบบสารสนเทศ Principles of information systems
BM 410 การจัดการนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง (Innovation and Change Management) ดร. สุทธาวรรณ จีระพันธุ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
Management Information Systems
By Thanitsorn Chirapornchai
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อองค์การ
Knowledge Management (KM)
LEARNING ORGANIZATION
สรุปกรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ
Learning Organization
LEARNING ORGANIZATION
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
องค์กรแห่งการเรียนรู้. ความหมาย องค์กรที่มีพนักงานทุกคนทุกระดับ พัฒนาขีด ความสามารถในการสร้างผลงานที่ดีให้กับ องค์กรด้วยใจรัก ( วรภัทร์ ภู่เจริญ, หน้า.
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การสอบวัดคุณสมบัติสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก (Qualify Examination : QE)
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Participation : Road to Success
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
การวิจัยธุรกิจและระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
กระบวนการวิจัย Process of Research
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การอ่านเชิงวิเคราะห์
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
ผู้อำนวยการ ..คิดอย่างไร ?
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“ เรียนให้ใฝ่รู้ เรียนให้ใฝ่ดี เรียนให้มีงานทำ ” Learning Strategy สาระ แนวคิด และกระบวนทัศน์ในพ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพของเด็กไทย เพื่อสร้างเด็กไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ อยู่ได้ในสังคมไทย เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข ใฝ่รู้ และเรียนรู้วิธีการแสวงหาความรู้ เป็นผู้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และพัฒนา คิดได้ ทำเป็น สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา “ เรียนให้ใฝ่รู้ เรียนให้ใฝ่ดี เรียนให้มีงานทำ ” เรื่องงปม.ก็ขอตรงจากสำนักงบประมาณได้

Learning Strategy คุณภาพเด็กไทยในอนาคต ได้กำหนดอย่างชัดเจนเป็นเงื่อนไข คุณภาพเด็กไทยในอนาคต ได้กำหนดอย่างชัดเจนเป็นเงื่อนไข เน้นความคิดจิตตระหนักรักชาติไทย ให้อยู่ได้เป็นคนได้ในสังคม ๑. ต้องเก่งและดีมีความสุข ต้องสนุกต้องรักเรียนเพียรสะสม มีคุณธรรมมีคุณค่าน่าชื่นชม มีความคมมั่นในจิตคิดสิ่งดี ๒. เรียนรู้หาความรู้อยู่เป็นนิจ เป็นต้นคิดสิ่งใหม่เด่นเป็นศักดิ์ศรี แสวงหาความรู้เสริมเพิ่มทวี เป็นผู้ที่มีจิตใจใฝ่พัฒนา ๓. เตรียมพร้อมยอมรับการปรับเปลี่ยน ปรับแนวเรียนเปลี่ยนแนวคิดกิจค้นหา แม้นสังคมเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ก็รักษาปรับตัวรอดตลอดเอย ธนิตสรณ์ จิระพรชัย พระจอมเกล้าธนบุรี

จำได้ หมายรู้ คือผู้มีสัญญา คิดได้ ทำเป็น คือผู้เห็นปัญญา Learning Strategy Good Knowledge is Power กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคิด อย่างต่อเนื่อง Wisdom ปัญญา Knowledge แก้ปัญหาได้ Information วิเคราะห์ได้ (Analysis) ใช้ทฤษฎี (Theory) มีประสบการณ์ (Experience) สัญญา Data จำได้ หมายรู้ จำได้ หมายรู้ คือผู้มีสัญญา คิดได้ ทำเป็น คือผู้เห็นปัญญา

กลยุทธ์ตัว ย เพื่อการเรียนรู้อย่างยั่งยืน (ธนิตสรณ์ จิระพรชัย) เก็บประเด็น Brain storming Gathering Keyword กระตุ้นให้เกิดประเด็น การตั้งคำถาม โยนิโสมนสิการ การรู้จักคิด คิดถูกวิธี กลุ่มประเด็นที่บูรณาการ กระจายประเด็นเป็นหมวดหมู่ Affinity Diagram เกี่ยวโยงประเด็นที่สัมพันธ์ Relation Diagram Cause – effect Diagram

เมนูกลยุทธ์ เพื่อการเรียนรู้ (ธนิตสรณ์ จิระพรชัย) เรียนแบบรวมศาสตร์ บนกระดาษแผ่นเดียว ฝึกอ่านความคิด ลิขิตในจิตใจ สร้างบ่อความรู้ สู่การซึมซับ สร้างภาพในสิ่งที่ฟัง จำในสิ่งที่คิด ลิขิตในสิ่งที่ใช้ รวมข้อมูลข่าวสาร >> สู่การวิเคราะห์ >> เพื่อแก้ปัญหา เรียนในสิ่งที่เราอยากรู้ ไม่ใช่ที่คุณครูอยากสอน ฝึกตั้งคำถาม สร้างโจทย์เพื่อการเรียน เรียนรู้ภายใต้สังคมที่ใฝ่เรียนรู้ (Learning Society)

Learning Organization (Dr. Peter M. Senge) Five Disciplines : 1. Personal Mastery 2. Mental Models 3. Shared Vision 4. Team Learning 5. Systems Thinking มุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ เปิดโลกทัศน์เชิงพัฒนา พาองค์กรสานวิสัยทัศน์ จัดการเรียนรู้ร่วมกัน รู้เท่าทันความคิดเชิงระบบ (Dr. Peter M. Senge ศาสตราจารย์ ที่ MIT Sloan School of Management)

INT 443 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ รายละเอียดเนื้อหาวิชา ลักษณะการจัดระบบสารสนเทศ เพื่อช่วยในการจัดการ การนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการบริหารองค์การสมัยใหม่ ศึกษาบทบาทและความสำคัญของสารสนเทศในการบริหารงาน การออกแบบระบบย่อย การกำหนดโครงสร้างและขนาดของระบบข้อมูล การพัฒนาระบบสำหรับองค์การขนาดต่างๆ การใช้ข้อสนเทศในการรายงาน ควบคุมติดตามผล และตัดสินใจทางธุรกิจ

INT 443 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อนักศึกษาเรียนจบวิชานี้จะมีความสามารถ 1. สามารถวิเคราะห์ลักษณะของธุรกิจให้เข้ากับแบบจำลองมาตรฐานทางธุรกิจ และเข้าใจถึงสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในส่วนต่างๆของธุรกิจ 2. อธิบายถึงประโยชน์ของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในองค์กรเชิงคุณภาพ และให้เกิดความได้เปรียบเชิงธุรกิจ 3. อธิบายถึงรายละเอียดชนิดของโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารเชิงธุรกิจ

INT 443 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 4. อธิบายถึงรูปแบบต่างๆของข้อมูลและข้อสนเทศของระบบที่ผู้บริหารจะใช้ในการตัดสินใจ 5. อธิบายระบบสารสนเทศที่ช่วยในการบริหารงานตั้งแต่ระดับผู้ปฏิบัติการ จนถึงผู้บริหารระดับสูง 6. อธิบายถึงระบบสารสนเทศที่ช่วยในการบริหารแผนกต่างๆในองค์การธุรกิจ

INT 443 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ตำราประกอบการเรียน > Ralph M. Stair, George W. Reynolds. “Principles of Information Systems, 4th.ed.” 1999 by Course Technology > Raymond McLeod,Jr. “Management Information System, 7th.ed.” by Prentice Hall, Inc.

INT 443 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ วิธีการวัดผล Assignment สอบย่อยเก็บคะแนน (รายบุคคล) ตลอดภาคการศึกษา ความร่วมมือภายในกลุ่ม แสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม ทั้งภายในห้อง และ Webboard การทำรายงานกลุ่ม ระบบสารสนเทศที่ใช้ในแผนกต่าง ๆ ขององค์กร ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ ก่อนการสอบปลายภาค 1 สัปดาห์ การทำรายงานสรุปรวบยอดในความรู้ที่เรียนทุกสัปดาห์ (งานกลุ่ม) สอบปลายภาค (รายบุคคล) 50%

INT 443 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ การส่งรายงาน ใช้ e-mail ถึง tha@it.kmutt.ac.th Cc: khuanchai@it.kmutt.ac.th บอกชื่อกลุ่ม และใส่รหัส MIS หรือ INT443 ในช่อง Subject ทุกครั้งที่ส่ง จะไม่พิจารณากรณีผิดเงื่อนไข การแสดงความคิดเห็นใน Webboard MIS http://www.it.kmutt.ac.th/~tha/ ให้เข้า Webboard ในส่วนของวิชานี้ หมั่นหาบทความสั้น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตั้งคำถาม พร้อมแสดงความคิดเห็นโดยใช้ทฤษฎีอ้างอิง ทั้งของกลุ่มตนเอง และกลุ่มอื่น ๆ

INT 443 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Course Outline Description 3 มิ.ย. Overview 10 มิ.ย. An Introduction to Information Systems (Chapter 1) 17 มิ.ย. Information Systems in Organizations (Chapter 2) 24 มิ.ย. Information Technology Concepts (Chapter 4) 8 ก.ค. Business Information Systems (Chapter 8) 15 ก.ค. Business Information Systems (Chapter 9)

INT 443 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Course Outline Description 5 ส.ค. Marketing Information Systems (Chapter 16) 19 ส.ค. Manufacturing Information Systems (Chapter 17) 26 ส.ค. Financial Information Systems (Chapter 18) 2 ก.ย. Human Resource Information Systems (Chapter 19) 9 ก.ย. Case Study 16 ก.ย. Case Study Summary FINAL Examination