Data Modeling Chapter 6.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
ทำความรู้จักและใช้งาน
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
Object-Oriented Analysis and Design
Normalization.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
แบบฝึกหัด DataFlow Diagram
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
SCC : Suthida Chaichomchuen
Databases Design Methodology
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
ทบทวน การออกแบบฐานข้อมูล
Chapter 3 แบบจำลองข้อมูล : Data Models
Chapter 2 Database systems Architecture
บทที่ 5 พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
อ.อารียา ศรีประเสริฐ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ
แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน
การแปลง E-R เป็น Table.
ประวัติความเป็นมาของฐานข้อมูลและยกตัวอย่างโปรแกรมในการจัดการฐานข้อมูล
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
รายวิชา ระบบฐานข้อมูล 1 หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Entity Relationship Model
The Relational Data Model
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
System Analysis and Design
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
(Transaction Processing Systems)
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
(การลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล)
DFD Level 0 เป็นขั้นตอนการสร้าง DFD โดยการแตกแยกย่อย Process ออกมาเป็น Process ย่อย ๆ และแสดงแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด Aj.Wichan Hongbin.
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
ภาระงาน 3.1 การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Entity-Relationship Model
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
ส่วนประกอบของแบบจำลองอีอาร์
E-R to Relational Mapping Algorithm
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
Enhanced Entity-Relationship Modeling
แบบจำลองข้อมูล (Data Model)
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
โดย อ.พัฒนพงษ์ โพธิปัสสา
Chapter 6 Information System Development
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Data Modeling Chapter 6

บทนำ แบบจำลองข้อมูล (Data Model) จะใช้อธิบายเกี่ยวกับข้อมูลต่าง ๆ ที่สนับสนุนกระบวนการทางธุรกิจในองค์กร นักวิเคราะห์ระบบจะโฟกัสเพียงว่ามีข้อมูลอะไรบ้างในกระบวนการทางธุรกิจ แบบจำลองข้อมูล จึงจัดเป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งในการนำเสนอให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล และโดยมักนำเสนอในรูปแบบของไดอะแกรมที่เรียกว่า แผนภาพอีอาร์ หรืออีอาร์ไดอะแกรม (Entity Relationship Diagram: ERD)

หัวข้อการเรียนรู้ แบบจำลองข้อมูล สัญลักษณ์ที่ใช้ในการสร้างแบบจำลองข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างเอ็นติตี้ ER-Diagram พจนานุกรมข้อมูล นอร์มัลไลเซชัน

อีอาร์ไดอะแกรม (The Entity Relationship Diagram) ใช้พื้นฐานหลัก ๆ 3 ประการ คือ เอ็นติตี้ (Entities), ความสัมพันธ์ (Relationships) และแอตตริบิวต์ (Attributes) เอ็นติตี้ (Entities) คือบุคคล สถานที่ วัตถุ และรวมถึงเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดกลุ่มของข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ ตัวอย่างเอ็นติตี้ เช่น บุคคล (Persons) เช่น ลูกค้า พนักงาน นักศึกษา ร้านค้า แผนกการเงิน สถานที่ (Place) เช่น อาคาร ห้องเรียน สาขา วัตถุ (Objects) เช่น หนังสือ เครื่องจักร สินค้า วัตถุดิบ เหตุการณ์ (Events) ใบอินวอยซ์ รายการลงทะเบียน แนวความคิด (Concepts) เช่น บัญชี พันธบัตร หุ้น

อีอาร์ไดอะแกรม (The Entity Relationship Diagram) ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอ็นติตี้ จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติในกระบวนการทางธุรกิจ ซึ่งความสัมพันธ์จะนำเสนอด้วยเหตุการณ์เชื่อมโยงระหว่างเอ็นติตี้ 1 1 One-to-one One-to-many Many-to-many 1 m m n

อีอาร์ไดอะแกรม (The Entity Relationship Diagram) ความสัมพันธ์ (Relationships)

อีอาร์ไดอะแกรม (The Entity Relationship Diagram) แอตตริบิวต์ (Attributes) คือ คุณสมบัติของเอ็นติตี้ โดยสัญลักษณ์แอตตริบิวต์ในอีอาร์ไดอะแกรมจะใช้สัญลักษณ์รูปวงรี และแอตตริบิวต์ใดที่เป็นคีย์หลัก ก็จะมีการขีดเส้นใต้กำกับใต้ชื่อแอตตริบิวต์นั้น ชื่อ รหัสลูกค้า นามสกุล ที่อยู่ เพศ ลูกค้า

อีอาร์ไดอะแกรม (The Entity Relationship Diagram) แอตตริบิวต์ (Attributes)

พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) คือ เอกสารที่ใช้อธิบายรายละเอียดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และรวมถึงรายการข้อมูลประกอบต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วยชื่อรีเลชัน (Relation Name), แอตตริบิวต์ (Attribute), ชื่อแทน (Aliases name), รายละเอียดข้อมูล (Data Description), แอตตริบิวต์โดเมน (Attribute Domain), การเรียงลำดับดัชนี (Index), คีย์หลัก (Primary Key), คีย์นอก (Foreign Key), ชนิดข้อมูล (Data Type) รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับ แหล่งที่เกิดข้อมูล, วันที่สร้างแฟ้มข้อมูล, ผู้ใช้ระบบ, สิทธิการใช้งานแฟ้มข้อมูล, ความถี่ในการใช้งาน สัญลักษณ์ ความหมาย = (Equal Sign) ประกอบด้วย + (Plus Sign) และ { } (Braces) การกระทำซ้ำของข้อมูลย่อย [ ] (Brackets) การพิจารณาทางเลือกเพียงทางเลือกหนึ่ง ( ) (Optional) จะมีหรือไม่มีก็ได้

พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)

พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) เครื่องหมาย “+” นั้นมีความหมายว่า และ ซึ่งมิใช่เป็นเครื่องหมายเพื่อการคำนวณแต่อย่างใด สำหรับข้อมูลที่อยู่ภายในเครื่องหมายวงเล็บ “( )” หมายความว่าส่วนประกอบข้อมูลนี้จะมีหรือไม่ก็ได้ ส่วนข้อมูลที่อยู่ภายในเครื่องหมาย “{ }” หมายความว่าเป็นรายการซ้ำ ๆ ซึ่งในที่นี้หมายถึงรายการรถที่ลูกค้าเช่า ซึ่งสามารถกรอกได้สูงสุด 5 รายการ

พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ตัวอย่างพจนานุกรมข้อมูลในรูปแบบของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลของระบบเช่ารถ

การนอร์มัลไลเซชัน (Normalization) เป็นกระบวนการนำโครงร่างรีเลชัน (Relation) มาแตกเป็นรีเลชันหรือตาราง ต่าง ๆ ให้อยู่ในรูปแบบที่เรียกว่า รูปแบบบรรทัดฐาน หรือ Normal Form โดยมีเป้าหมายหลักสำคัญคือ เพื่อให้รีเลชันที่ได้มานั้นอยู่ในรูปแบบบรรทัดฐานที่เหมาะสม โดยจดประสงค์ของการนอร์มัลไลเซชัน คือ ลดเนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูล เพื่อลดความซ้ำซ้อน (Redundancy) ในข้อมูล ลดปัญหาความไม่ถูกต้องของข้อมูล

แบบฟอร์มที่ยังไม่การนอร์มัลไลซ์ (Un-Normalized Form)

แบบฟอร์มที่ยังไม่การนอร์มัลไลซ์ (Un-Normalized Form)

การนอร์มัลฟอร์มระดับที่ 1 (First-Normalized Form)

การนอร์มัลฟอร์มระดับที่ 2 (Second-Normalized Form)

การนอร์มัลฟอร์มระดับที่ 3 (Third-Normalized Form)

คำถามท้ายบท ความสัมพันธ์ระหว่างเอ็นติตี้ สามารถมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใดได้บ้าง จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ ในกรณีที่ความสัมพันธ์ระหว่างเอ็นติตี้อยู่ในรูปแบบกลุ่มต่อกลุ่ม จะต้องดำเนินการปรับปรุงอย่างไร จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ พจนานุกรมข้อมูลคืออะไร มีประโยชน์อย่างไร

The End