สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Advertisements

เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Distributed Administration
Principle.
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
Chapter 1 Introduction to Information Technology
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Central Processing Unit
ชุดที่ 2 Hardware.
เอกสารฉบับนี้ได้มาจากอินเทอร์เน็ต chandra. ac
Introduction to computers
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ข้อดีข้อเสียของ VLAN.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบ Internet
Operating System ฉ NASA 4.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
Chapter 1 Introduction to Information Technology
เนื้อหา วัตถุประสงค์ของการใช้ระบบเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการ ผู้สอน ผศ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร chandra. ac
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Chapter 2 Database systems Architecture
CPU ไม่รวม I/O PROCESSOR , MATH CO-PROCESSOR
เมนบอร์ด (mainboard). เมนบอร์ด (mainboard) Mainboard             Mainboard หรือ mother board ถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ชิ้นสำคัญไม่แพ้กับ CPU เพราะหน้าทีหลัก.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
Charter 11 1 Chapter 11 ระบบปฏิบัติการ Operation System : OS.
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
การจัดการฐานข้อมูล.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management).
บทที่ ๖ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเตอร์เนต ( Computer Networks and the Internet ) ๑. ๑ อินเตอร์เน็ต หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติ ที่มีสาย ตรงเชื่อมต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงาน.
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture) น.ท.ไพศาล โมลิสกุลมงคล

บทที่ 14 มัลติโปรเซสเซอร์ (Multiprocessors)

โครงสร้างมัลติเพิลโปรเซสเซอร์

ระบบที่ยึดเหนี่ยวกันแบบหลวม ระบบประกอบด้วยจำนวนคอมพิวเตอร์ที่มีความเป็นอิสระ และแยกห่างจากกัน การติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบติดต่อกันด้วยอินเทอร์เฟซ (Interface) ที่ใช้โปรโตคอล (Protocol) เดียวกัน การติดต่อสื่อสารคอมพิวเตอร์ในระบบส่วนใหญ่เป็นแบบอนุกรมที่มีความเร็วสูง การติดต่อกันระหว่างคอมพิวเตอร์สามารถทำได้อย่างทั่วถึงทำให้ผู้ใช้จากสถานที่ต่าง ๆ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวก

ระบบที่ยึดเหนี่ยวกันแบบปานกลาง ระบบเฉพาะกิจที่ออกแบบสำหรับแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง ตัวอย่างที่ชัดเจนคือระบบมัลติเพิลโปรเซสเซอร์ (Multiple Processor) เป็นตัวอย่างของระบบคอมพิวเตอร์แบบกระจาย (Distributed Computer System) ช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม ลดค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูล ลดค่าใช้จ่ายรวมของทั้งระบบ ความน่าเชื่อถือของระบบจะดีขึ้น เนื่องจากเมื่อโปรเซสเซอร์ตัวใดตัวหนึ่งเสีย ระบบยังคงสามารถทำงานต่อได้

ระบบที่ยึดเหนี่ยวกันอย่างเหนียวแน่น โปรเซสเซอร์ทุกตัวสามารถเข้าถึงหน่วยความจำหลักหรือหน่วยความจำร่วม (Share Memory) ได้ โปรเซสเซอร์แต่ละตัวอาจจะมีหน่วยความจำส่วนตัวได้ โปรเซสเซอร์แต่ละตัวใช้ระบบปฏิบัติการร่วมกัน โปรเซสเซอร์แต่ละตัวใช้ทรัพยากรอื่น ๆ ร่วมกัน เช่น อินพุต/เอาต์พุต และตัวควบคุม (Controller) โปรแกรมและข้อมูลต่าง ๆ จะถูกเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลักที่เป็น โกลบอล (Global Memory) โปรเซสเซอร์อยู่ใกล้กันมาก และสามารถใช้บัสแบบขนานร่วมกันได้ โปรเซสเซอร์แต่ละตัวสามารถทำงานร่วมกัน หรือสลับภาระงานกันได้

องค์ประกอบพื้นฐานสำหรับระบบมัลติโปรเซสเซอร์ ส่วนที่ทำการประมวลผล (Processing Element : PE) ส่วนที่เป็นสวิตช์ (Switch) ส่วนเส้นทางเชื่อม (Interconnection Path)

รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์ รูปแบบบัสร่วม (Common Bus)

รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์ รูปแบบหน่วยความจำที่มีหลายพอร์ต (Multiport Memory)

รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์ รูปแบบการเชื่อมต่อผ่านอินพุต/เอาต์พุต (Connect through I/O)

รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์ รูปแบบบัสวินโดว์ (Bus Window)

รูปแบบการต่อโปรเซสเซอร์เป็นมัลติโปรเซสเซอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ที่ใช้ DMA

รูปแบบการประมวลผล

รูปแบบการประมวลผล คำสั่งเดี่ยวข้อมูลเดี่ยว (Single Instruction Single Data : SISD)

รูปแบบการประมวลผล คำสั่งเดี่ยวหลายชุดข้อมูล (Single Instruction Multiple Data : SIMD)

รูปแบบการประมวลผล หลายชุดคำสั่งข้อมูลเดี่ยว (Multiple Instruction Single Data : MISD)

รูปแบบการประมวลผล หลายชุดคำสั่งหลายชุดข้อมูล (Multiple Instruction Multiple Data :MIMD)

ตัวอย่างมัลติโปรเซสเซอร์