มาตรการควบคุมอาหารแปรรูป ที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย นพ.สมชัย นิจพานิช รองปลัดกระทวงสาธารณสุข วันที่ 22 มิถุนายน 2555 โรงแรมริชมอนด์ 1
ความเป็นมา ของฝาก อาหารพื้นบ้าน OTOP อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ของฝาก อาหารพื้นบ้าน OTOP สถานที่ผลิต : ยังไม่มีเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้เป็นเครื่องมือในการลดความเสี่ยงจากอันตราย ผลิตภัณฑ์ : อาหารทั่วไปแปรรูปฯ ไม่มีเลขสารบบอาหาร เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคและมีแนวทางในการปฏิบัติสำหรับอาหารแปรรูปฯ สถานที่ผลิต : ประกาศกระทรวงฯ (ฉ.342)พ.ศ.2555 ผลิตภัณฑ์ : ประกาศกระทรวงฯ (ฉ.343)พ.ศ.2555 Primary GMP
(GMP/ GMP เฉพาะผลิตภัณฑ์) เป้าหมาย : การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหารไทย ลดความเสี่ยงอันตรายของอาหาร ในกลุ่มดังกล่าว ยกระดับมาตรฐานสถานที่ผลิตอาหาร สำหรับบริโภคภายในประเทศ เป็นมาตรการเพื่อการ กำกับดูแลอาหารนำเข้า/ ส่งออกสำหรับรองรับการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ครัวไทยสู่ครัวโลก เข้าสู่อาเซียน(AEC) INDUSTRIAL มาตรฐาน (GMP/ GMP เฉพาะผลิตภัณฑ์) การผลิตในระดับอุตสาหกรรม มาตรฐาน (GMP) SME การผลิตในระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม OTOP ยกระดับมาตรฐาน (Primary GMP) การผลิตในระดับครัวเรือนและชุมชน 3
มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับอาหารแปรรูปที่บรรจุใน ภาชนะพร้อมจำหน่าย ประกอบด้วย ประกาศกระทรวงสาธารณสุข 2 ฉบับ ดังนี้ 1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 342)พ.ศ. 2555 เรื่องวิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิตและเก็บรักษาอาหารแปรรูปในภาชนะบรรจุพร้อมจำหน่าย กำหนดให้อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายต้องปฏิบัติตาม Primary GMP ได้แก่ อาหารพร้อมปรุง อาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภคทันที อาหารทั่วไป ซึ่งเป็นอาหารที่ผ่านกระบวนการแปรรูป เช่น ตัดแต่งในลักษณะที่นำไปปรุงหรือบริโภค คั่ว ทำให้แห้ง หมักดอง เป็นต้น
สถานที่ผลิตต้องเป็น Primary GMP 1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 342) พ.ศ. 2555 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย สถานที่ผลิตต้องเป็น Primary GMP ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าอาหารตามนิยามดังกล่าวต้องปฏิบัติหรือจัดให้มีใบรับรองวิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตและเก็บรักษาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย
ระยะเวลาบังคับใช้กฎหมาย ผู้ผลิตหรือนำเข้า 1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 342) พ.ศ. 2555 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ระยะเวลาบังคับใช้กฎหมาย ผู้ผลิตหรือนำเข้า (1) รายเก่า ที่ได้รับอนุญาตแล้วต้องปฏิบัติให้เป็นไปตาม Primary GMP ภายใน 3 ปีหลังจากวันที่ประกาศมีผลบังคับใช้ (วันที่ 7 พฤศจิกายน 2558) (2) รายใหม่ ต้องปฏิบัติตาม Primary GMP หลังจากพ้นกำหนดวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 180 วัน (วันที่ 7 พฤศจิกายน 2555)
มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับอาหารแปรรูปที่บรรจุใน ภาชนะพร้อมจำหน่าย 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 343) พ.ศ.2555 เรื่องฉลาก (ฉบับที่3) อาหารทั่วไปแปรรูปฯ ที่ผ่านการตรวจประเมินสถานที่ผลิตตาม Primary GMP สามารถขอรับและแสดงเลขสารบบอาหารได้ มีผลตั้งแต่วันที่ 11 พฤษภาคม 2555
สิ่งที่จังหวัดดำเนินการ ส่งเสริมและผลักดันผู้ประกอบการอาหารแปรรูปฯ ให้ปฏิบัติตามกฎหมายกำหนด สนับสนุนให้มาขอรับเลขสารบบอาหาร ประเมินผล รวบรวม และจัดเก็บข้อมูลสถานประกอบการอาหารแปรรูปฯ พร้อมประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องเพื่อประสานโดยตรงที่ food@fda.moph.go.th
Primary GMP พัฒนาอาหารไทย ปลอดภัยสู่อาเซียน ด้วยความปรารถนาดีจาก…. กระทรวงสาธารณสุข