สรุปการประชุม เขต 10
เป้าหมาย รพ.สต. รวม 95 แห่ง อุดรธานี 31 แห่ง หนองคาย 23 แห่ง อุดรธานี 31 แห่ง หนองคาย 23 แห่ง หนองบัวลำภู 21 แห่ง เลย 20 แห่ง รวม 95 แห่ง
การเตรียมความพร้อม การวางเครือข่ายความเชื่อมโยง ระหว่าง รพ.สต. กับ โรงพยาบาลแม่ข่าย ความพร้อมของทีมงาน ปริมาณ คุณภาพ การจัดการระบบข้อมูล ระบบการประสานงาน ระบบสนับสนุนจากทุกภาคส่วน การกำหนดตัวชี้วัด
ขอบเขตการบริการ ให้บริการครอบคลุมทั้ง ในรูปของการให้บริการเชิงรุก การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาล รวมทั้งส่งต่อ การฟื้นฟู การดูแลผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้าน ในรูปของการให้บริการเชิงรุก กำหนดตัวชี้วัดให้ชัดเจน
แผนการจัดการด้านกำลังคน จนท. อัตรา 1: ไม่เกิน 1,400 (6-8 คน) (อนุญาตให้ จนท.ใน รพท./รพช. ย้ายไปปฏิบัติงาน ที่ รพ.สต.ได้ นร. จบใหม่ พิจารณาให้ปฏิบัติงานที่ รพ.สต. เป็นอันดับแรก อสม. อัตราไม่เกิน 1 คน : 15 หลังคาเรือน
การเงิน/การคลัง แหล่งที่มาของงบประมาณ UC อื่นๆ เน้นค่าตอบแทนเชิงรุก สนับสนุนงบลงทุนทดแทน สนับสนุนวัสดุครุภัณฑ์ที่จำเป็น ท้องถิ่น ประชาชน
เร่งรัดการจ่ายค่าตอบแทนเชิงรุกและค่าตอบแทนอื่นๆ อันพึงมีพึงได้ ตามระเบียบฯ ปรับแผนงบลงทุนงบลงทุนที่ได้รับจัดสรร ในปี 2552 เพื่อให้สะดวกในการทำงาน
ความร่วมมือของประชาชน/ อปท. ให้มีการบริการงานโดยคณะกรรมการ ทั้งจากภาครัฐ/ อปท. /ประชาชน
บทบาทของแต่ละหน่วยงาน สสจ./สสอ. Facilitator สนับสนุน/กำกับ/ติดตามประเมินผล พัฒนาบุคลากร/ความเจริญก้าวหน้าในสายงาน เสริมสร้างขวัญกำลังใจและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน รพศ./รพท./รพช. สนับสนุนด้านวิชาการ สอ. พี่เลี้ยงให้กับ อสม./ชุมชน
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ การมีส่วนร่วมอย่างจริงจังของทุกภาคส่วน ประสบการณ์ของชุมชน มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน มีคณะกรรมการติดตามระดับจังหวัดที่ชัดเจนและต่อเนื่อง ต้องมี Board และหน้าที่ของ Board จัดการที่ชัดเจน
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ขนาดของ รพ.สต. ข้อสรุป ควรเป็น 7,000 – 10,000 คน