การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
Advertisements

รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การเลี้ยงปลาบึก ABC DEFG รหัส 47xxxxxx คณะเกษตรศาสตร์ สาขาประมง.
บ้านโนนสวรรค์ หมู่ที่ 8 ตำบทพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
โครงการตามพระราชดำริฯ ในพื้นที่จังหวัดน่าน โครงการเกษตรที่สูง
และแผนการดำเนินงาน ปี 55 สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
กระบวนการจัดการความรู้
ควายเพื่อทำพ่อพันธุ์
84 พรรษา องมหาชัน.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
นำเสนอเรื่อง ก๊าซชีวภาพจากมูลสุกร
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การเพิ่มชุดโครโมโซม Polyploidy.
การเลี้ยงเป็ด รูปแบบการเลี้ยงเป็ดในประเทศไทย
สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
(Artificial insemination) สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
เรื่องเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
การสืบพันธุ์ของพืช.
Wean-to-Finish (WTF) System
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การฝึกงาน องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย อ. หนองวัวซอ จ
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
การผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
งานนำเสนอเรื่องการฝึกงาน
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
อีเอ็มกับการทำคลอดสุกร
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
เก็บตก ประเด็น HOT.
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แผนกวิชา พื้นฐานสามัญ

ความหมายของการผสมเทียม การใช้น้ำเชื้อที่รีดเก็บจากสัตว์ตัวผู้หรือพ่อพันธุ์แล้วนำไปฉีดผสมเข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์ของสัตว์ตัวเมียในระยะเวลาการเป็นสัด เพื่อทำให้สัตว์ตัวเมียตั้งท้องแล้วคลอดลูกตามปกติ

การผสมเทียมในประเทศไทย                  การผสมเทียมในประเทศไทยเริ่มขึ้นโดย ในปี พ.ศ.2496 ศาสตราจารย์นีลล์ ลาเกอร์ ลอฟ ชาวสวีเดน ผู้เชี่ยวชาญองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติได้เดินทางมาสำรวจการเลี้ยงปศุสัตว์ในประเทศไทยได้เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันเพื่อทูลเก้าฯถวายโครงการผลิตโคนมลูกผสมด้วยวิธีการผสมเทียมในประเทศไทยเพื่อให้ประเทศไทยสามารถผลิตน้ำนมได้เองภายในประเทศ

ข้อดีของการผสมเทียม (Advantages of artificial insemination) 1.       การปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์ที่ดีได้รวดเร็วในเวลาสั้น (Genetic gain) 2.      การใช้จ่ายเพื่อการผสมพันธุ์ทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Cost effectiveness)

ข้อเสียของการผสมเทียม (Disadvantages of artificial insemination) 1. จากขบวนการการรีดน้ำเชื้อ การผลิตน้ำเชื้อแช่แข็ง และเทนนิคการผสมเทียม 2. โรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ 3. ผลเสียและข้อจำกัดอื่นๆ

ประโยชน์ของการผสมเทียม สามารถปรับปรุงพันธุ์สัตว์ให้ดีขึ้นได้อย่างรวดเร็ว สามารถผสมพันธุ์ได้ต่างขนาดกันได้ ป้องกันโรคติดต่อหรือโรคระบาดที่เกิดจากการผสมพันธุ์โดยธรรมชาติ ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก สามารถเก็บน้ำเชื้อได้หลายปี สามารถแก้ปัญหาการติดลูกยากของแม่พันธุ์ ควบคุมระยะเวลาการมีลูกได้ตามที่ต้องการ ตัดปัญหาเรื่องการขนส่ง ประโยชน์ของการผสมเทียม