การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใส่หมายเลขหน้าข้อความ ปรับแต่งเอกสารด้วยการใส่ หมายเลขหน้าข้อความ
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
วงจรลบแรงดัน (1).
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
การใช้งานเครื่องถ่าย
Welcome to Electrical Engineering KKU.
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
สื่อการเรียนรู้ เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
ENCODER.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
ชุดทดลองวงจรและ เครื่องมือวัดพื้นฐาน
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
โรงเรียนชุมชนบ้านบือแนปีแน สพป.ปัตตานี เขต 2
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
Flow Chart INT1103 Computer Programming
บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ช่างเทคนิคโตโยต้า>> เครื่องมือและเครื่องมือวัด
ไดแอก ( DIAC ) .
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
ความหมายของวิทยาศาสตร์
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์
ระบบเลขฐาน.
การแก้ไขปัญหาทั่วไป จัดทำโดย นายจักรี จิระกิตติวุฒิ เลขที่ 13 นายจิรายุส สมวงค์อินทร์ เลขที่ 14 นายชนาธิป สมฟอง เลขที่ 15 นายชาญณฤทธิ์ มโนปัญญา เลขที่
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน มัลติมิเตอร์คือ - เครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ประเภทหนึ่งที่สามารถวัดค่าต่างๆได้อาทิเช่น การวัดแรงดันไฟฟ้าประเภทต่างๆ ,การวัดกระแสไฟฟ้า,การวัดค่าความต้านทาน เป็นต้น

ประเภทของมัลติมิเตอร์ แบบตัวเลข (Digital Multimeter) แบบตัวเลข (Digital Multimeter) แบบเข็มชี้ (Analog Multimeter)

ข้อแตกต่างของดิจิตอลมัลติมิเตอร์ กับแอนาลอกมัลติมิเตอร์ บอกค่าเป็นตัวเลข ดิจิตอลมิเตอร์ ข้อดี ค่าตัวเลขจะวิ่ง สังเกตค่าที่แน่นอนยาก ข้อเสีย

เห็นการเปลี่ยนแปลงของ สเกลไม่เป็นเชิงส่วนทำให้ เข็มสเกลอย่างชัดเจน แอนาลอกมิเตอร์ ข้อดี สเกลไม่เป็นเชิงส่วนทำให้ อ่านค่าสเกลลำบาก ข้อเสีย

องค์ประกอบของมัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกในการวัดตัวต้านทาน สเกลในการอ่านค่า เข็มมิเตอร์เพื่อชี้ค่าสเกล ปุ่มปรับซีโร่โอห์ม ย่านวัดความต้านทาน จุดเสียบสายมิเตอร์

การเลือกย่านในการวัดความต้านทาน X 1 ใช้วัด 0 Ω จนกระทั่งถึง 2 KΩ นิยมใช้ที่ 0 Ω – 100 Ω X 10 ใช้วัด 0 Ω จนกระทั่งถึง 20 KΩ นิยมใช้ที่ 10 Ω – 1 KΩ X 100 ใช้วัด 10 Ω จนกระทั่งถึง 200 KΩ นิยมใช้ที่ 100 Ω – 10 KΩ X 1K ใช้วัด 0 Ω จนกระทั่งถึง 20 KΩ นิยมใช้ที่ 1 KΩ – 100 KΩ ย่านวัดความต้านทาน (โอห์มมิเตอร์) X 1 ใช้วัด 0 Ω จนกระทั่งถึง 20 MΩ นิยมใช้ที่ 10 KΩ – 20 MΩ

การต่อมัลติมิเตอร์เข้ากับตัวต้านทาน ลำดับขั้นตอน 1. ถอดตัวต้านทาน ออกจากวงจร 2. จับเข็มของสายวัด มิเตอร์ให้ถูกต้อง

3. กรณีที่ไม่ทราบค่าตัวต้านทาน

4. เมื่อเข็มที่สเกลไม่ขึ้นให้ปรับย่านวัดขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง

5. เมื่อเข็มที่สเกลยังไม่ขึ้นให้ปรับย่านวัดขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง

6. ปรับย่านวัดความต้านทานอีกระดับหนึ่ง เพื่อให้เข็มสเกลชี้บริเวณ กึ่งกลางหน้าปัทม์

การอ่านค่าจากสเกลบนหน้าปัดของมัลติมิเตอร์ สเกลย่าน ความต้านทาน จากเลข 0 – 2 มี 10 ขีด อ่านขีดละ 0.2 Ω จากเลข 2 – 10 มี 16 ขีด อ่านขีดละ 0.5 Ω

นอกจากนี้เมื่ออ่านค่าจากสเกลได้แล้วต้องนำค่าที่ได้ จากเลข 10 – 20 มี 10 ขีด อ่านขีดละ 1 Ω จากเลข 20 – 50 มี 15 ขีด อ่านขีดละ 2 Ω จากเลข 50 – 100 มี 10 ขีด อ่านขีดละ 5 Ω จากเลข 100 – 200 มี 5 ขีด อ่านขีดละ 20 Ω นอกจากนี้เมื่ออ่านค่าจากสเกลได้แล้วต้องนำค่าที่ได้ ไปคูณกับย่านการวัดที่ตั้งไว้ด้วย

ค่าที่อ่านได้จากสเกลคือ 10 ย่านวัดที่ตั้งไว้คือ x 1K ค่าที่อ่านได้คือ 10 x 1 K = 10 KΩ

กรณีที่ทราบค่าตัวต้านทาน

ค่าที่อ่านได้จากสเกลคือ 100 ย่านวัดที่ตั้งไว้คือ x 10K ค่าที่อ่านได้คือ 100 x 10 K = 1 MΩ

ย่านการวัด x1 ตัวอย่างในการอ่านค่าสเกลจากย่านวัดความต้านทานต่างๆ อ่านค่าได้จากสเกลคือ 10 กับอีก 3 ขีดๆละ 1 Ω อ่านได้คือ 13 Ω นำค่าที่อ่านได้คูณกับย่านการวัดคือ 13 Ω x 1 = 13 Ω Ans

ย่านการวัด x10 อ่านค่าได้จากสเกลคือ 20 กับอีก 2 ขีดๆละ 2 Ω อ่านได้คือ 24 Ω นำค่าที่อ่านได้คูณกับย่านการวัดคือ 24 Ω x 10 = 240 Ω Ans

ย่านการวัด x100 อ่านค่าได้จากสเกลคือ 5 กับอีก 4 ขีดๆละ 0.5 Ω อ่านได้คือ 7 Ω นำค่าที่อ่านได้คูณกับย่านการวัดคือ 7 Ω x 100 = 700 Ω Ans

ย่านการวัด x1K อ่านค่าได้จากสเกลคือ 50 กับอีก 1 ขีดๆละ 5 Ω อ่านได้คือ 55 Ω นำค่าที่อ่านได้คูณกับย่านการวัดคือ 55 Ω x 1K = 55 KΩ Ans

ย่านการวัด x10K อ่านค่าได้จากสเกลคือ 10 กับอีก 8 ขีดๆละ 1 Ω อ่านได้คือ 18 Ω นำค่าที่อ่านได้คูณกับย่านการวัดคือ 18 Ω x 10K = 180 KΩ Ans

จบการนำเสนอ

มัลติมิเตอร์อนาล็อกแบบต่างๆ