งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น
บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น 6.1 แบบจำลองของออปแอมป์ 6.2 ออปแอมป์และการป้อนกลับแบบลบ 6.3 การใช้งานออปแอมป์ในวงจรประมวลสัญญาณเชิงเส้น 6.4 ความไม่เป็นอุดมคติของออปแอมป์ 6.5 Datasheet ของออปแอมป์

2 Introduction ออปแอมป์ (Operational Amplifier) หรือวงจรขยายเชิงดำเนินการเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่างๆ ออปแอมป์ในยุคแรก ๆ ถูกสร้างมาจากอุปกรณ์แบบ discrete (เริ่มต้นจากหลอดสูญญากาศต่อมาเป็นทรานซิสเตอร์และตัวต้านทาน) และมีราคาสูง (หลายสิบดอลลาร์ต่อตัว) ออปแอมป์แบบวงจรรวม (IC) ตัวแรกคือ mA702 ถูกพัฒนาโดย Widlar แห่งบริษัท Fairchild Semiconductor ในปี 1964 IC ออปแอมป์ในยุคแรก ๆ มีคุณภาพไม่ดีและมีราคาค่อนข้างสูง ต่อมาการใช้งานออปแอมป์มีมากขึ้นเรื่อย ๆ ออปแอมป์มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงเรื่อยๆ

3 วิวัฒนาการของออปแอมป์
ออปแอมป์หลอดรุ่น K2-W ออปแอมป์ IC ยุคปัจจุบัน

4 6.1 แบบจำลองของออปแอมป์

5 แบบจำลองของออปแอมป์

6 ออปแอมป์ในอุดมคติ

7 6.2 ออปแอมป์และการป้อนกลับแบบลบ
6.2 ออปแอมป์และการป้อนกลับแบบลบ

8 จาก ในกรณีออปแอมป์ในอุดมคติที่มีอัตราขยาย A ย่างเข้าสู่อนันต์เราจะได้ นอกจากนี้เราสามารถแสดงได้ว่าเมื่อ A ย่างเข้าสู่อนันต์แรงดัน vD จะย่างเข้าสู่ศูนย์ นั่นคือแรงดันที่ขาลบของออปแอมป์จะเท่ากับแรงดันที่ขาบวก

9 6.3 การใช้งานออปแอมป์ในวงจรประมวลสัญญาณเชิงเส้น
6.3 การใช้งานออปแอมป์ในวงจรประมวลสัญญาณเชิงเส้น วงจรขยายไม่กลับเฟส (non-inverting amp)

10

11 Voltage Buffer

12 วงจรรวมแรงดัน

13 วงจรขยายแบบกลับเฟส

14 อะไรจะเกิดขึ้นถ้าเราต่อ R ระหว่างขา+ และ gnd ?

15 Note Conflict ระหว่าง Gain และ input resistance

16 กรณีต่อโหลด

17

18 ถ้าต้องการ Gain = -100 และ input resistance = 1 MW

19 วงจรรวมแรงดันกลับเฟส

20 integration

21 วงจร Miller Integrator

22 Transfer Function w

23

24

25 Differentiator ไม่เป็นที่นิยมเพราะเป็นวงจรที่ pick up สัญญาณรบกวน (interference)


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google