สะแกนอิเล็กตรอน ทางแนวนอน ไฟเลี้ยงฮอร์ (ไฟกระตุ้น)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Advertisements

พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรลบแรงดัน (1).
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
3) หลักการทำงาน และการออกแบบ
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
EEET0391 Electrical Engineering Lab.II Rev Introduction & PSPICE.
Bipolar Junction Transistor
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
ดำเนินงานโดย สำนักฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรบุคคล กับภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
Device for single – phase ac parameter measurement
เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล นายมาโนชย์ ทองขาว อาจารย์ที่ปรึกษา.
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
Ultrasonic sensor.
CHAPTER 17 FOURIER SERIES
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไมโครโฟน (Microphone)
ลำโพง (Loud Speaker).
DS30M DUAL FEED GUN.
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
ชุดทดลองวงจรและ เครื่องมือวัดพื้นฐาน
Touch Screen.
การเขียนผังงาน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก(อี
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การใช้บอร์ดควบคุมสำหรับ Robot 35 in 1
การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
ลักษณะการมองเห็นภาพ ตา
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
บล็อกไดอะแกรมภาคจูนเนอร์
แนวคิดการส่งสัญญาณ(R-Y) และ (B-Y) ออกอากาศ
VD D คีย์ สวิทช์ องค์ประกอบการทำงานเบื้องต้นของไอซีไมโครคอมพิวเตอร์ OS C2 RS T VS S 5 V 4 MHz 5 V.
บล็อกไดอะแกรมภาคจ่ายไฟ
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
ซิลิคอน คอนโทรล สวิตช์ (SCS)
คือ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
ชุดรับสัญญาณจาก ดาวเทียม DTV ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรม และซ่อมบำรุง 10/9/2014.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
เครื่องสำรองไฟฟ้า(UPS)
DC motor.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สะแกนอิเล็กตรอน ทางแนวนอน ไฟเลี้ยงฮอร์ (ไฟกระตุ้น) บล็อกไดอะแกรมหน้าที่ของฮอร์ ขา 32 ของ IC501 ไป HOR YOKE สะแกนอิเล็กตรอน ทางแนวนอน ต้นกำเนิดฮอร์ ฮอร์ ขา 10 Fly back ผลิตแรงดันไฟสูง ไฟเลี้ยงฮอร์ (ไฟกระตุ้น)

สะแกนอิเล็กตรอน ทางแนวนอน ส่วนขยายบล๊อกไดอะแกรมของฮอร์ ขา 32 ของ IC501 HOR DRIVE HOR DRIVE TRAN สะแกนอิเล็กตรอน ทางแนวนอน HOR OUTPUT ผลิตแรงดันไฟสูง

103 V 0.2 V 16 V

การตรวจซ่อมฮอริซอนตอลอาการจอมืด 1. ตั้งมิเตอร์วัดแรงดันไฟ 103 V ที่ขา C ของทรานซิสเตอร์ฮอร์เอาท์หากไม่มีไฟ ให้กลับไปสำรวจไฟต้นทาง หากต้นทางมีไฟปกติให้สำรวจ R816,R423,D404 2. วัดแรงดันไฟ16 Vที่แหล่งจ่ายไฟ หากฮอร์ยังทำงานไม่ได้จะมีแรงดันไฟราวๆ 12 V หากแรงดันส่วนนี้ไม่มีให้สำรวจ R815,D807 3. วัดไฟที่ขา 33 ของ IC501 หากแรงดันไฟมีไม่ถึง 5.2V วงจรจะทำงานไม่ได้ ใช้มือแตะ R401 ว่าอุ่นหรือไม่เพื่อดูว่า Q403 ดึงไฟลงกราวด์หรือเปล่า และวัดไฟที่ขา B ของ Q403 ต้องได้ 0.6-0.7 V หากไม่มี R426 ยืดค่าหรือว่าขาด

4. วัดแรงดันไฟที่ขา 34 ของ IC501 ต้องมีไฟ แล้วให้ตั้งมิเตอร์ ACV-OUTPUT เพื่อวัดสัญญาณความถี่ 15625 Hz ที่ขานี้ต้องมีไฟ DC และมีสัญญาณ AC จึงจะถือว่าปกติ 5. วัดสัญญาณออกทางขา C ของ Q401 หากจุดนี้ไม่มีให้เช็คไฟ DC ที่ขา C เพราะ R415 มักจะขาดบ่อย 6. วัดสัญญาณ(ตั้ง ACV –output ย่านต่ำสุด)ที่ขา B ของ Q402 หากสัญญาณหายไป แสดงว่า Q402 ชอร์ตขา B-E หากมีให้ใช้มิเตอร์ตั้งย่าน DC วัดที่ขา B อีกครั้งหากได้ไฟติดลบ 0.2 V แสดงว่าดี หากได้แรงดันไฟบวกเกิน1 แสดงว่า Q402 เสีย

7. ตั้งมิเตอร์ ACV – output ย่าน 1000 V วัดที่ขา C ของ Q402 ต้องได้แรงดันตั้งแต่ 600 V ขึ้นไป หากไม่มีหรือว่าได้ต่ำมากแสดงว่า Q402 เสีย

จบการนำเสนอ