ภาพรวมระบบเครือข่าย www.ats.co.th.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

การติดตั้งการทำงานบนระบบ Network และการใช้งานขั้นสูง
IT Central Library KMITL
วิธีการตั้งค่าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในระบบเครือข่าย
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
TCP/IP Protocols IP Addressing
อินเตอร์เน็ต (Internet)
บทที่ 6 อินเตอร์เน็ต ความเป็นมา.
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนสำหรับผู้ใช้จำนวนไม่เกิน 1000 คน
ระบบอินเทอร์เนตสำหรับผู้ใช้ไม่เกิน 1000 คน
ระบบอินเทอร์เนตในโรงเรียนที่ผู้ใช้ไม่เกิน 1000 คน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
มีหมายเลข IP Address มากกว่าเดิมมาก ทำให้เพียงพอต่อความ ต้องการของผู้ใช้ เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นกว่าเดิม เพราะเป็นการใช้งาน IP จริงทั้งหมด.
ARP (Address Resolution Protocol)
ระบบ Internet , Intranet สรส. จากคณะกรรมการพัฒนาระบบ LAN สรส
IP Address เป็นหมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่าย หน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่จัดสรร คือ InterNIC (Internet Network Information Center) ปัจจุบันเป็นเวอร์ชัน.
Firewall IPTABLES.
สรุปประเด็นการทำ Firewall
IP TABLES เรียนรู้และทำความเข้าใจการทำงานของ iptables และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ Firewall ได้
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
สรุปผลการดำเนินงาน ศูนย์ สารสนเทศ ปีงบประมาณ 2554.
TCP/IP.
What’s P2P.
บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
สิ่งที่ควรรู้ WAN = Wide Area Network ระบบเครือข่ายระดับกว้างไกล
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
IP Address / Internet Address
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
การเชื่อมต่อเครือข่ายขนาดเล็ก ผศ. พิเชษฐ์ ศิรรัตนไพศาลกุล.
วิธีคำนวณการแบ่ง Subnet
คอมพิวเตอร์ ร.ร.จักรคำคณาทร
อินเทอร์เน็ตInternet
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Network Address Translation (NAT)
CH 9 หมายเลขไอพี และการจัดสรร
Chapter 4 หมายเลขไอพี และการจัดสรร
Protocol ทำเราท์เตอร์เป็นเซิร์ฟเวอร์แจกไอพี Dynamic Host Configuration
Translation Network Address แปลงไอพีบนเฮดเดอร์ด้วย 13 05/04/60
InterVLAN Route-on-Stick 7 05/04/60
Week 4: Chapter 21: IP Address Chapter 22: IP Datagram
สมาชิก กลุ่ม 1. นางสาวพรพิรุณ ประจงค์ เลขที่ นางสาววราภรณ์ สี หนาจ เลขที่ นางสาวสุนิสา อบ มาลี เลขที่ 68.
อินเทอร์เน็ต โดย.. ครูสาคร หนูอิน.
IP ADDRESS.
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ISP ในประเทศไทย
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
Domain Name System   (DNS).
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
Internet Service Privider
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของ อินเตอร์เน็ต - inter มีความหมายแสดงว่าระหว่าง, อยู่ในระหว่าง, ซึ่งกันและกัน เช่น international = ระหว่างประเทศ - net แปลว่า ตาข่าย แห สวิง.
NontriNet CA RapidSSL CA
Virtualization and CentOS Installation
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สิ่งที่สำคัญในระบบปฏิบัติการของเราในวันนี้คงหนีไม่พ้นในเรื่องของ เครือข่าย หรือ Network network คืออะไร เครือข่ายมีไว้เพื่อสื่อ สารกันระหว่างคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1 LAN Implementation Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology Naresuan University, Phayao Campus.
อินเทอร์เน็ต ( Internet )
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาพรวมระบบเครือข่าย www.ats.co.th

IP Address เป็นหมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่าย หน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่จัดสรร คือ InterNIC (Internet Network Information Center) ปัจจุบันเป็นเวอร์ชัน 4 (IPV4) มีทั้งหมด 32 บิต โดยเขียนในรูปเลขฐานสิบ 4 ตัว คั่นด้วยเครื่องหมายจุด เช่น 203.155.20.5 โดยหมายเลข IP จะประกอบด้วยกันสองส่วนหลักคือ Network Address หรือ Network ID และ Host Address หรือ Host ID Network ID Host ID เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เปลี่ยนแปลงได้ www.ats.co.th

ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล Class ของ IP Address แบ่งได้ 5 Class ด้วยกัน ที่ใช้จริงในปัจจุบันมีอยู่ 3 Class คือ Class A, B และ C Class First bits Range of IP จำนวน Host สูงสุด จำนวนบิต A 0.0.0.0 ถึง 127.255.255.255 16,777,216 24 B 10 128.0.0.0 ถึง 191.255.255.255 65,535 16 C 110 192.0.0.0 ถึง 223.255.255.255 254 8 D 1110 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255 - E 1111 240.0.0.0 ถึง 255.255.255.255 ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล www.ats.co.th

ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล Class ของ IP Address Class A เหมาะสำหรับใช้งานในระบบเครือข่ายขนาดใหญ่มาก มีเครื่องลูกข่ายได้ถึง 16.7 ล้านเครื่อง มีค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 127 บิตแรก จะมีค่าเป็น 0 โดยในการใช้งานจริงหมายเลขเริ่มต้น และหมายเลขสุดท้ายจะไม่ถูกนำมาใช้งาน สำหรับหมายเลข 127.0.0.1 เป็นที่สำรองไว้ในการทดสอบการทำงานของอุปกรณ์เครือข่าย ที่เรียกว่า Loopback testing Class B เหมาะสำหรับองค์กรขนาดกลาง มีเครื่องลูกข่ายได้ถึง 65,535 เครื่อง มีค่าได้ตั้งแต่ 128 ถึง 191 สองบิตแรกมีค่าเป็น 10 Class C เหมาะสำหรับองค์กรขนาดเล็ก มีเครื่องลูกข่ายได้ถึง 254 เครื่อง มีค่าได้ตั้งแต่ 192 ถึง 223 สามบิตแรกจะมีค่าเป็น 110 ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล www.ats.co.th

ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล Default Subnet Mask เป็นค่าที่ใช้สำหรับแบ่งเน็ตเวิร์กออกเป็นเน็ตเวิร์กย่อย กรณีที่ต้องการจัดสรรหมายเลขไอพี ให้หน่วยงานตามจุด หรือสาขาต่าง ๆ Class Net Mask เลขฐานสิบ Net Mask เลขฐานสอง A 255.0.0.0 11111111.00000000.00000000.00000000 B 255.255.0.0 11111111. 11111111.00000000.00000000 C 255.255.255.0 11111111. 11111111. 11111111.00000000 ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล www.ats.co.th

ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล การแบ่ง Subnet ของ Class C เนื่องด้วยปัจจุบัน IP Address ที่มีใช้งานส่วนมากเป็นคลาส C เกือบทั้งหมด กล่าวคือเราใช้ 8 บิต ด้านขวาสุดของ IP Address ในการกำหนด Host Address (Host ID) ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการทำการ Subnet ในคลาส C ก็คือการแบ่งข้อมูล 8 บิต ของ Host Address ออกเป็น Subnet Address และ Host Address ใหม่นั่นเอง สรุปการแบ่ง Subnet ของคลาส C ที่นำมาใช้งานจริงได้ 5 แบบ ดังตารางต่อไปนี้ ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล www.ats.co.th

การแบ่ง Subnet ของ Class C Subnet Mask (เลขฐานสิบ) Prefix จำนวนเครือข่ายย่อย (Subnet) จำนวนเครื่องลูกข่าย (Host) 2 255.255.255.192 /26 4 62 3 255.255.255.224 /27 8 30 255.255.255.240 /28 16 14 5 255.255.255.248 /29 32 6 255.255.255.252 /30 64 ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล www.ats.co.th

ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล Classless IP Address ในการใช้งานไอพีแบบธรรมดา จะเห็นว่าสิ้นเปลืองไอพีจำนวนมาก วิธีแก้คือแบ่งไอพีเป็นแบบ Classless คือเอาจำนวนบิตของ Net ID โดยไม่จำเป็นต้องใช้เป็นค่าดีฟอลต์ คือ 8, 16, 24 (Class A,B,C) อีกต่อไป โดยเราสามารถแบ่งได้แบบอิสระ เช่น 203.146.86.0/24 เป็น IP Class C มี Net ID 24 บิต และ Host ID 8 บิต สามารถนำไปจ่ายให้เครื่องลูกข่ายได้ 254 เครื่อง ถ้าหากหน่วยงานที่ใช้มีสาขาย่อยอยู่ต่างจังหวัด เราสามารถแบ่งไอพีออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อให้สาขาต่างจังหวัดนำไปใช้งานก็สามารถทำได้เช่นกัน เช่น Network address 203.146.86.0 Subnet mask 255.255.255.192(/26) ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล www.ats.co.th

ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล Private IP Address เรียกกันว่าไอพีปลอม หรือไอพีภายใน ถูกนำมาใช้สำหรับองค์กรที่ไม่ได้เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ไอพีปลอมนั้นปัจจุบันถูกนำมาใช้งานในการจ่ายให้เครื่องลูกข่ายในองค์กร เช่น ร้านอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ ทำเป็นระบบ NAT ในการจ่ายไอพีให้เครื่องลูกข่ายในองค์กร ใช้ทำระบบ Intranet ใช้งานในองค์กร Class Range of IP A 10.0.0.0 to 10.255.255.255 B 172.16.0.0 to 172.31.255.255 C 192.168.0.0 to 192.168.255.255 ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล www.ats.co.th

ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล Public IP Address เรียกกันว่าไอพีจริง หรือไอพีภายนอก ถูกนำมาใช้สำหรับองค์กรที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ไอพีจริงนั้นปัจจุบันกำลังจะหมด จึงมีแผนที่จะนำไอพีระบบใหม่ คือ IPv6 มาใช้งานแทน การตั้ง Server ให้บริการด้านต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต จำเป็นจะต้อง ใช้ ไอพีจริงในการระบุ การเชื่อมต่อจากผู้ใช้บริการที่มาจากอินเตอร์เน็ต โดยไอพีจริง จะถูกจัดสรรมาจากผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) ที่ใช้บริการ ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล www.ats.co.th

Default Gateway Default Gateway สามารถมีได้ 1 IP เท่านั้น Default Gateway คือช่องทางการเชื่อมต่อ Network อื่นๆ ที่มิใช่ Network ของตัวเอง www.ats.co.th