มาเข้าใจกันก่อน ภาษา กับ อักษร เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

เสียงพยัญชนะ นางสมจิตร ภูเต็มเกียรติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนศรีบุณยานนท์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้

ระบบ เสียง ในภาษาไทย เสียง เกิดจากลมที่เคลื่อนตัวจากปอดผ่านหลอดลม ลำคอ กล่องเสียง ช่องปาก จมูก เพดาน ลิ้น ฟัน ริมฝีปาก.
การจัดหมู่(Combination)
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
นางสาวดวงเดือน สร้อยจิตร สำนักงานเขตบางคอแหลม
POWERPOINT ประกอบการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย
ผู้จัดทำ นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การแจกลูกและการสะกดคำ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ. พะเยา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
พระวาจา ทรง ชีวิต พฤษภาคม 2014.
ตัวอย่างผลงานนักเรียน วรรณยุกต์ภาษาจีน. วรรณยุกต์จีน 4 เสียง วรรณยุกต์ในระบบสัทอักษรภาษาจีน มีทั้งหมด 4 รูป มีชื่อเรียกดังนี้ อินผิง เอี๋ยงผิง ส่างเซิง.
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master of Arts in Pali and Sanskrit Chulalongkorn University วัตถุประสงค์
การเพิ่มคำ.
ลักษณะของภาษาไทย      ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ จึงเป็นสมบัติของชาติที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ อัจฉริยลักษณะของภาษาไทยมีความโดดเด่นเทียบเท่ากับภาษาสากลได้
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย
เรื่อง พยัญชนะไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิชาภาษาไทย
วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส เรื่อง...บาลีศึกษาเบื้องต้น
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (8) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา

ทบทวนบทเรียน ENGLISH CLASS 6.
การอ่าน-การเขียนภาษาไทย
ยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
อินเตอร์เน็ตกับครูภาษาอังกฤษ บทสัมภาษณ์ครูสอนภาษาอังกฤษ จัดทำโดย
พยัญชนะต้น.
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
ภาษาบาลี-ภาษาสันสกฤต
มาตราตัวสะกด สื่อการสอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ชั้นอนุบาล1 โรงเรียนบ้านควนไทรงาม
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
วิชาภาษาไทย เรื่อง สนุกกับพยัญชนะไทย
ข้อสังเกตคำบาลีและสันสกฤต
 มาจากภาษาอังกฤษว่า Literature เช่นเดียวกับวรรณกรรม สำหรับใน ภาษาไทยนั้นมีการใช้คำว่า " วรรณคดี " ก่อนภายหลังจึงได้เกิดมีคำว่า " วรรณกรรม " ขึ้น  คำว่า.
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ( ภาษาบาลี - ภาษาสันสกฤต )
ตามอาตมาไปอ่านภาษาบาลีกัน
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
จักรยาน.
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
งานที่ ๑ บันทึกสัมภาษณ์ครูภาษาอังกฤษ
แหล่งสารสนเทศ โดย อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข 1. IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 2 หน่วยที่ 2 2. แหล่งสารสนเทศแยกประเภท ตามแหล่งที่เกิด 2.1.
บทที่ ๔.
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กน แม่กก แม่กด แม่กบ แม่ ก กา
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
กราบนมัสการ พระปริยัติสารเวที,ดร. คณบดีคณะศึกษาศาสตร์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดย อรวสา พยุห์ โรงเรียนอนุบาลระนอง
ประวัติวันวาเลนไทน์14 กุมภาพันธ์ วันแห่งความรัก
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
ศาสนายิว ก. ความหมาย ๑. ยูดาร์ ภาษาอังกฤษว่า Judalism กรีกว่า Judai
ก. ไก่ ฝึกอ่านตาม หน้า ถัดไป ผู้จัดทำ sahapreecha.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทพนาครีศรีอักษร รู้จักรักอัษรเทพนาครี จัดทำโดย พระมหานพดล ปุญฺสุวฑฺฒโก Pali-Sanskrit-Hindi Tutor

มาเข้าใจกันก่อน ภาษา กับ อักษร เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

ภาษา คือเสียงคำพูดสื่อความหมายให้เข้าใจกับผู้ฟัง อักษร คือตัวหนังสือใช้เขียนสื่อความหมายให้เข้าใจกับผู้อ่าน

ภาษาบาลี-สันสกฤต-ฮินดี เป็นภาษาที่ใช้พูดสื่อความหมาย ของชาวอารยันโบราณ จนถึงปัจจุบัน มีระบบไวยากรณ์ที่แม่นยำ ใช้ถ่ายทอดความรู้ในคัมภีร์ตำราทางปรัชญา ศาสนา ศาสตร์ต่าง ๆ ถือเป็นมรดกแห่งภูมิปัญญาโลกตะวันออก

ยุคแรก ภาษาบาลี-สันสกฤต มีแต่ภาษาพูดสื่อความหมาย ของชาวอารยันโบราณ ไม่มีภาษาเขียนหรือตัวหนังสือเขียนหรือจารึก การถ่ายทอดความรู้ใช้การพูด-ฟังแล้วท่องจำต่อ ๆ กันมาเรียกว่า มุขปาฐะ

ยุคต่อมา ภาษาบาลี-สันสกฤต และภาษาฮินดีปัจจุบัน มีทั้งภาษาพูด สื่อความหมาย มีทั้งภาษาเขียนหรือตัวหนังสือเขียนหรือจารึก เพื่อถ่ายทอดความรู้โดยการพูดและฟัง เขียนและอ่าน

ยุคปัจจุบัน ภาษาบาลี-สันสกฤต และภาษาฮินดี สามารถเขียนด้วยอักษรใด ๆ ก็ได้ในโลกนี้ ที่เป็นตัวหนังสือหรือสัทอักษรเขียนแทนเสียงพูดสื่อความหมาย ตามที่กำหนดไว้โดยสมาคมสัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet หรือ IPA) http://www.arts.gla.ac.uk/ipa/index.html

ภาษาบาลี-สันสกฤต-ภาษาฮินดี ในคัมภีร์พระเวท คัมภีร์ศาสตร์พระไตรปิฎก เป็นต้น ส่วนใหญ่จารึกหรือเขียนด้วยพราหมี อักษรเทวนาครี หรือเทพนาครีก่อน จากนั้นจึงปริวรรตไปเป็นอักษรที่ใช้ในแต่ละประเทศ

เทพนาครีศรีอักษร รู้จักรักอัษรเทพนาครี โดย เทพนาครีศรีอักษร รู้จักรักอัษรเทพนาครี โดย...พระมหานพดล ปุญฺสุวฑฺฒโก Pali-Sanskrit-Hindi Tutor

เชิญมารู้จักรัก เทพนาครีศรีอักษร ที่ใช้จารึกและเขียน ภาษาบาลี-สันสกฤต-ภาษาฮินดี ในปัจจุบัน

อักษรเทพนาครี Devanagari EaIdovanagarIAxar

อักษรเทพนาครี ประกอบด้วย สระมี ๑๔ ตัว และ พยัญชนะ ๓๔ ตัว ตารางเทียบอักษรที่ใช้ในเขียนจารึก ภาษาบาลี-สันสกฤต-ฮินดี เทวนาครีกับอักษรไทย PALI-SANSKRIT-HINDI in Thai and Devanagari qaa[- AaOr EaIdovanagarIAxar maoM palaI saMsÌt ihndI โดย....พระมหานพดล ปุญฺสุวฑฺฒโก อักษรเทพนาครี ประกอบด้วย สระมี ๑๔ ตัว และ พยัญชนะ ๓๔ ตัว

สระมี ๑๔ ตัว อ A อา Aa อิ [ อี อุ a ] อู a } ริ/ฤ ? รี/ฤๅ เอ e ไอ eo โอ Aao เอา AaO อํ AM อะ A:

A สระ อ เช่น อนฺน อนามย AÙ Anaamaya

สระ อา Aa เช่น อาหาร อากาส อากาศ Aahar Aakasa AakaSa

สระ อิ [ เช่น อิทํ อิห อินฺทฺริยํ วิทฺยา [dM [h [ind`yaM ivaVa

สระ อี [- เช่น อีทิส อีศ อีศฺวร [-idsa [-Sa [-Svar

สระ อุ ] เช่น อุจฺจ อุทร อุทฺยาน ]cca ]dr ]Vana

}^Mca dUr saUya- maUQa-a สระ อู } เช่น อูจ ทูร สูรฺย มูรฺธา }^Mca dUr saUya- maUQa-a

สระ ฤ ? เช่น ฤษิ ฤกฺษ ฤกฺต วฺฤกฺษ ?iYa ?xa ?> vaRxa

สระ เอ e เช่น เอส เอก มเหศฺวร นิเทศ esa ek doSa mahoSvar

eoyara pOsaa jaOna pOSaaca สระ ไอ eo เช่น ไอยรา ไปสา ไชน ไปศาจ eoyara pOsaa jaOna pOSaaca

AaokaSa Aaokasa AaoBaasa สระ โอ Aao เช่น โอกาศ โอกาส โอภาส AaokaSa Aaokasa AaoBaasa

สระ เอา AaO เช่น เอารต เคาตม เคารฺว AaOrt gaaOtma gaaOva-

AMkUr AMSa hMsa kMsatar สระ อํ AM เช่น อํกูร อํศ หํส กํสตาร AMkUr AMSa hMsa kMsatar

สระ อะ A: เช่น ทุะขํ เทวะ สฺวาหะ du:KM dova: hMsvaah:

จัดเป็นพยัญชนะวรรค ๒๕ ตัว พยัญชนะอวรรค ๙ ตัว พยัญชนะมี ๓๔ ตัว จัดเป็นพยัญชนะวรรค ๒๕ ตัว พยัญชนะอวรรค ๙ ตัว

พยัญชนะวรรคมี ๒๕ ตัว ก k ข K ค ga ฆ Ga ง a = จ ca ฉ C ช ja ฌ Ja ฏ T  Ha ฏ T  z ฑ D ฒ Z ณ Na ต t ถ qa ท d ธ Qa น na ป p ผ f พ ba ภ Ba ม ma

พยัญชนะอวรรคมี ๙ ตัว ย ya ร r ล la ว va ศ Sa ษ Ya ส sa ห h ฬ L ­

พยัญชนะผสม(สังยุกต์) กฺฤ Ì กฺต > กฺร Ë กฺษ xa ชฺ a& ตฺร a~ ทฺธ w ทฺย V ปฺร p` พฺร ba`

พยัญชนะผสม(สังยุกต์) ฏฺฏ a+ ฐฺ a{ ตฺต a<a ทฺว W นฺน Ù ผฺร Î $ รุ ศฺร Ea หฺม *ma หฺย (a