เทพนาครีศรีอักษร รู้จักรักอัษรเทพนาครี จัดทำโดย พระมหานพดล ปุญฺสุวฑฺฒโก Pali-Sanskrit-Hindi Tutor
มาเข้าใจกันก่อน ภาษา กับ อักษร เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ภาษา คือเสียงคำพูดสื่อความหมายให้เข้าใจกับผู้ฟัง อักษร คือตัวหนังสือใช้เขียนสื่อความหมายให้เข้าใจกับผู้อ่าน
ภาษาบาลี-สันสกฤต-ฮินดี เป็นภาษาที่ใช้พูดสื่อความหมาย ของชาวอารยันโบราณ จนถึงปัจจุบัน มีระบบไวยากรณ์ที่แม่นยำ ใช้ถ่ายทอดความรู้ในคัมภีร์ตำราทางปรัชญา ศาสนา ศาสตร์ต่าง ๆ ถือเป็นมรดกแห่งภูมิปัญญาโลกตะวันออก
ยุคแรก ภาษาบาลี-สันสกฤต มีแต่ภาษาพูดสื่อความหมาย ของชาวอารยันโบราณ ไม่มีภาษาเขียนหรือตัวหนังสือเขียนหรือจารึก การถ่ายทอดความรู้ใช้การพูด-ฟังแล้วท่องจำต่อ ๆ กันมาเรียกว่า มุขปาฐะ
ยุคต่อมา ภาษาบาลี-สันสกฤต และภาษาฮินดีปัจจุบัน มีทั้งภาษาพูด สื่อความหมาย มีทั้งภาษาเขียนหรือตัวหนังสือเขียนหรือจารึก เพื่อถ่ายทอดความรู้โดยการพูดและฟัง เขียนและอ่าน
ยุคปัจจุบัน ภาษาบาลี-สันสกฤต และภาษาฮินดี สามารถเขียนด้วยอักษรใด ๆ ก็ได้ในโลกนี้ ที่เป็นตัวหนังสือหรือสัทอักษรเขียนแทนเสียงพูดสื่อความหมาย ตามที่กำหนดไว้โดยสมาคมสัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet หรือ IPA) http://www.arts.gla.ac.uk/ipa/index.html
ภาษาบาลี-สันสกฤต-ภาษาฮินดี ในคัมภีร์พระเวท คัมภีร์ศาสตร์พระไตรปิฎก เป็นต้น ส่วนใหญ่จารึกหรือเขียนด้วยพราหมี อักษรเทวนาครี หรือเทพนาครีก่อน จากนั้นจึงปริวรรตไปเป็นอักษรที่ใช้ในแต่ละประเทศ
เทพนาครีศรีอักษร รู้จักรักอัษรเทพนาครี โดย เทพนาครีศรีอักษร รู้จักรักอัษรเทพนาครี โดย...พระมหานพดล ปุญฺสุวฑฺฒโก Pali-Sanskrit-Hindi Tutor
เชิญมารู้จักรัก เทพนาครีศรีอักษร ที่ใช้จารึกและเขียน ภาษาบาลี-สันสกฤต-ภาษาฮินดี ในปัจจุบัน
อักษรเทพนาครี Devanagari EaIdovanagarIAxar
อักษรเทพนาครี ประกอบด้วย สระมี ๑๔ ตัว และ พยัญชนะ ๓๔ ตัว ตารางเทียบอักษรที่ใช้ในเขียนจารึก ภาษาบาลี-สันสกฤต-ฮินดี เทวนาครีกับอักษรไทย PALI-SANSKRIT-HINDI in Thai and Devanagari qaa[- AaOr EaIdovanagarIAxar maoM palaI saMsÌt ihndI โดย....พระมหานพดล ปุญฺสุวฑฺฒโก อักษรเทพนาครี ประกอบด้วย สระมี ๑๔ ตัว และ พยัญชนะ ๓๔ ตัว
สระมี ๑๔ ตัว อ A อา Aa อิ [ อี อุ a ] อู a } ริ/ฤ ? รี/ฤๅ เอ e ไอ eo โอ Aao เอา AaO อํ AM อะ A:
A สระ อ เช่น อนฺน อนามย AÙ Anaamaya
สระ อา Aa เช่น อาหาร อากาส อากาศ Aahar Aakasa AakaSa
สระ อิ [ เช่น อิทํ อิห อินฺทฺริยํ วิทฺยา [dM [h [ind`yaM ivaVa
สระ อี [- เช่น อีทิส อีศ อีศฺวร [-idsa [-Sa [-Svar
สระ อุ ] เช่น อุจฺจ อุทร อุทฺยาน ]cca ]dr ]Vana
}^Mca dUr saUya- maUQa-a สระ อู } เช่น อูจ ทูร สูรฺย มูรฺธา }^Mca dUr saUya- maUQa-a
สระ ฤ ? เช่น ฤษิ ฤกฺษ ฤกฺต วฺฤกฺษ ?iYa ?xa ?> vaRxa
สระ เอ e เช่น เอส เอก มเหศฺวร นิเทศ esa ek doSa mahoSvar
eoyara pOsaa jaOna pOSaaca สระ ไอ eo เช่น ไอยรา ไปสา ไชน ไปศาจ eoyara pOsaa jaOna pOSaaca
AaokaSa Aaokasa AaoBaasa สระ โอ Aao เช่น โอกาศ โอกาส โอภาส AaokaSa Aaokasa AaoBaasa
สระ เอา AaO เช่น เอารต เคาตม เคารฺว AaOrt gaaOtma gaaOva-
AMkUr AMSa hMsa kMsatar สระ อํ AM เช่น อํกูร อํศ หํส กํสตาร AMkUr AMSa hMsa kMsatar
สระ อะ A: เช่น ทุะขํ เทวะ สฺวาหะ du:KM dova: hMsvaah:
จัดเป็นพยัญชนะวรรค ๒๕ ตัว พยัญชนะอวรรค ๙ ตัว พยัญชนะมี ๓๔ ตัว จัดเป็นพยัญชนะวรรค ๒๕ ตัว พยัญชนะอวรรค ๙ ตัว
พยัญชนะวรรคมี ๒๕ ตัว ก k ข K ค ga ฆ Ga ง a = จ ca ฉ C ช ja ฌ Ja ฏ T Ha ฏ T z ฑ D ฒ Z ณ Na ต t ถ qa ท d ธ Qa น na ป p ผ f พ ba ภ Ba ม ma
พยัญชนะอวรรคมี ๙ ตัว ย ya ร r ล la ว va ศ Sa ษ Ya ส sa ห h ฬ L
พยัญชนะผสม(สังยุกต์) กฺฤ Ì กฺต > กฺร Ë กฺษ xa ชฺ a& ตฺร a~ ทฺธ w ทฺย V ปฺร p` พฺร ba`
พยัญชนะผสม(สังยุกต์) ฏฺฏ a+ ฐฺ a{ ตฺต a<a ทฺว W นฺน Ù ผฺร Î $ รุ ศฺร Ea หฺม *ma หฺย (a