บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
สื่อประกอบการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
ใช้สติอย่างสร้างสรรค์ ชีวิตทุกวันจะปลอดภัย
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
บทที่ 2.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
โรคอุจจาระร่วง.
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
ทางนำไปสู่การมีสุขภาพดี
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ สาระสำคัญ พฤติกรรมสุขภารมีผลต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรค ถ้าบุคคลมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมก็จะลดโอกาสของการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคได้ ในทางกลับกันการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ย่อมทำให้มีโอกาสเกิดโรคและความเจ็บป่วยต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องเพียงพฤติกรรมเดียว อาจเป็นสาเหตุของการเกิดโรคได้มากมายหลายโรค ดังนั้นทุกคนควรตระหนักต่อการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เพื่อป้องกันไม่ให้มีโรคเกิดขึ้นกับตนเอง

พฤติกรรมสุขภาพกับการเกิดโรค               โรค หมายถึง ความไม่สบายหรือการเกิดภาวะปกติขึ้นในร่างกาย โดยแสดงอาการผิดปกติหรือมีอาการเจ็บป่วยออกมาให้เห็น เช่น เป็นไข้ อ่อนเพลีย อาเจียน อุจจาระร่วง ปวดศีรษะ ซึ่งอาการที่ปรากฏนั้นอาจจะเป็นอยู่ระยะหนึ่งแล้วหาย หรือกลับมาเป็นซ้ำอีกก็ได้ หรืออาจแสดงอาการอยู่ตลอดไป จนอาจส่งผลทำให้อวัยวะของร่างกายเกิดความพิการ ทุพพลภาพ หรืออาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้

โรคและการเจ็บป่วยที่แบ่งตามลักษณะของพฤติกรรมสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมของบุคคล ส่งผลทำให้เกิดโรคและการเจ็บป่วยต่าง ๆ มากมาย ซึ่งสามารถแบ่งชนิดของโรคและการเจ็บป่วยตามลักษณะของพฤติกรรมสุขภาพที่

การป้องกันโรคและอันตรายที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ การมีสุขภาพอนามัยที่ดี ไม่เจ็บป่วยหรือเกิดโรคอันเนื่องมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม นักเรียนสามารถป้องกันโรคและอันตรายที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพโดยยึดหลักการดูแลสุขภาพตามสุขบัญญัติ แห่งชาติ 10 ประการ

              1. รักษาสุขอนามัยส่วนบุคคลอยู่เสมอ ได้แก่ ทำความสะอาดร่างกายและของใช้ให้สะอาดดูแลรักษาฟันและเหงือกให้สะอาด แข็งแรง มีสุขภาพดี รวมถึงล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังการขับถ่ายทุกครั้ง ถ่ายอุจจาระเป็นเวลาทุกวัน และใส่เสื้อผ้าที่สะอาด ไม่อับชื้น และให้ความอบอุ่นเพียงพอ               2. บริโภคอาหารสุก สะอาด ปลอดภัย และครบถ้วน 5 หมู่ อย่างหลากหลาย และเพียงพอกับความต้องการของร่างกายตามวัย นอกจากนี้ ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่อาจมีสารอันตรายเจือปน เช่น ไส้กรอกหรือกุนเชียงใส่สี ถั่วงอกหรือขิงซอยที่มีสีขาวผิดธรรมชาติ ซึ่งอาจมีสารฟอกขาวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพเจือปนอยู่               3. ออกกำลังกายด้วยวิธีการที่ถูกต้องอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละไม่ต่ำกว่า 30 นาที เพื่อสร้างความแข็งแรงและภูมิต้านทานโรคแก่ร่างกาย เช่น การว่ายน้ำ การเต้นแอโรบิก การวิ่งเหยาะ หรือการเล่นกีฬาที่ถนัดและมีความสนใจ

              4. ควบคุมหรือจัดการอารมณ์และความเครียดที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ ด้วยวิธีการที่เหมาะสม เช่น มองโลกในแง่ดี ทำงานอดิเรกที่ถนัดและมีความสนใจ หัวเราะและยิ้มแย้มอยู่เสมอ และไม่ควรยึดติดกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดมากจนเกิดไป               5.หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การเสพสารเสพติด การสำส่อนทางเพศ และอบายมุขต่าง ๆ ที่ทำลายสุขภาพ หรือส่งผลทำให้เกิดโรคและการเจ็บป่วย               6. ดูแลจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้านและในชุมชนให้ถูกสุขลักษณะ มีความปลอดภัย ไม่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์นำโรค หรือเป็นแหล่งเพราะเชื้อโรค ที่นำโรคและความเจ็บป่วยมาสู่คน               7. ตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อลดความเสี่ยง หรือลดความรุนแรงของโรคที่อาจเกิดขึ้น และช่วยให้มีการดูแลรักษาโรคได้อย่างน้อยทันท่วงที