“ หมวกอุ่นเกล้า ผ้าห่มอุ่นกาย” “ หมวกอุ่นเกล้า ผ้าห่มอุ่นกาย”
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ ปัญหาที่พบ/แรงบันดาลใจที่ดำเนินการ การควบคุมอุณหภูมิกายทารกแรกเกิดให้อยู่ในระดับปกติเป็น ปัจจัยที่ควบคุมได้ยาก เมื่อเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำจะทำให้ เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงและอาจเสียชีวิตได้ จากการ สำรวจข้อมูลทารกแรกเกิดเมื่อปี 2546 พบทารกแรกเกิดมี ภาวะอุณหภูมิกายต่ำถึง ร้อยละ 19.66 และ ปี 2547 พบร้อยละ 36.6 งานห้องคลอดจึงค้นหาสาเหตุพบว่า สาเหตุเกิดจาก: 1. มารดาหลังคลอดไม่ได้เตรียมเสื้อผ้า ผ้าเช็ดตัว เพื่อนำมาห่อกายทารกแรกเกิด เจ้าหน้าที่ห่อกายทารกไม่ดี ห่อผ้าหลุดลุ่ย ร่างกายบางส่วนไม่ถูกห่อผ้าเป็นเวลานาน เช่น ศีรษะ หน้าอก
สาเหตุที่ควบคุมไม่ได้ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศตามฤดูกาล จากการทบทวนทางวิชาการ ; อาการแสดงที่ปรากฏให้เห็นคือ ผิวกายทารกจะซีด เย็น แห้ง หนาวสั่น การไหลเวียนในหลอดเลือดฝอยส่วนปลายช้าลง หัวใจเต้นเร็ว เล็บมือเล็บเท้าเขียว ขนลุกชัน เมื่อตัวเย็นนานขึ้นจะมีผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลางหรือระบบต่อมไร้ท่อให้ทำหน้าที่บกพร่อง สาเหตุที่ควบคุมไม่ได้ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศตามฤดูกาล 2. พยาธิสภาพของตัวทารก สาเหตุที่ควบคุมได้ การปฏิบัติงานของบุคลากรในห้องคลอดไม่มีมาตรฐานเดียวกัน เช่นไม่ระมัดระวังในการควบคุมอุณหภูมิกายของทารกหลังคลอด เป็นต้น
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม วิธีการดำเนินงาน/การปฏิบัติ อุ่นผ้ารับเด็กโดยใช้ radiant warmer ป้องกันการสูญเสียความร้อนออกจากร่างกายทารก ทำความสะอาดศีรษะทารกแล้วสวม “ หมวกอุ่นเกล้า” เช็ดตัวทารกแล้วห่ม ”ผ้าห่มอุ่นกาย” หลีกเลี่ยงมิให้นำทารกวางในบริเวณที่มีกระแสลมพัดผ่าน ให้มารดาโอบกอดทารกไว้เสมอ บันทึกอุณหภูมิเป็นระยะๆ 1. เพื่อลดการเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำใน ทารกแรกเกิด 2. เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อนออกจาก ร่างกายของทารกแรกเกิด 3. เพื่อปรับสภาพแวดล้อมให้ทารกแรกเกิด
4. เช็ดลำตัวและ ห่อผ้า 5. ห่มผ้าห่มอุ่นกาย 2.เช็ดศีรษะ 3.สวมหมวก 1.อุ่นผ้ารับเด็ก 4. เช็ดลำตัวและ ห่อผ้า 5. ห่มผ้าห่มอุ่นกาย
ความสำเร็จที่ได้/ประโยชน์ของกิจกรรม/สิ่งที่ได้รับจากการทำกิจกรรม อัตราการเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำในทารกแรกเกิดของ งานห้องคลอด โรงพยาบาลหนองบัว ปีงบประมาณ 2548 ร้อยละ 3.77 ปีงบประมาณ 2549 ร้อยละ 3.86 ปีงบประมาณ 2550 ร้อยละ 3.45 ปีงบประมาณ 2551 ถึงปัจจุบันไม่พบการเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำในทารกแรกเกิด