การวิเคราะห์ DNA.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
รายงาน ความหลากหลายของพืช.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
กลไกการวิวัฒนาการ.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ของส่วนประกอบของเซลล์
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
โครโมโซม.
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
BIOL OGY.
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
วิทยาศาสตร์พันธุกรรม ดีเอ็นเอ และ จีเอ็มโอ (Molecular Biotechnology)
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
7.Cellular Reproduction
รายวิชา ระบบฐานข้อมูล 1 หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางDNAและมุมมองทางสังคมและจริยธรรม
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
การปลูกพืชผักสวนครัว
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
ชีวะ ม. ปลาย.
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์ ศลช.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม
ระบบเทคโนโลยี.
กลุ่มgirls’generation
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
นางสาว ชูขวัญ ไพรจิตร เลขที่ 28 นางสาว กัญญาภัค แก้วนวน เลขที่ 30
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ชิ้นงานที่1 ชื่อ นางสาวจรรยา พุฒเจริญ
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
งานชิ้นที่..1 ชื่อ น. ส. สุภาลัย หมายถม กลาง. ความหมายและคุณค่าของการ ทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อ ความเจริญก้าวหน้าของทุกๆ.
พันธุวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมพันธุศาสตร์
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
บทที่ 17 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA
การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ DNA

จัดทำโดย นาย พศวัติ คล้ายจาด ชั้น ม.6/3 เลขที่ 3ก นาย พศวัติ คล้ายจาด ชั้น ม.6/3 เลขที่ 3ก นาย ภัทรพล สวัสดี ชั้น ม.6/3 เลขที่ 9ก นาย ประวีณ ตันยานนท์ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 1ข นาย ศรัณต์ ฐปนานนท์ ชั้น ม .6/3 เลขที่ 2ข นาย ธนาคาร คลังเกษม ชั้น ม.6/3 เลขที่ 5ข

การวิเคราะห์ DNA เมื่อนักวิทยาศาสตร์ สามารถโคลน DNA ต่างๆได้สิ่งที่น่าสงสัยคือ DNA ต่างๆ ที่โคลนได้นั้นคืออะไร ประกอบด้วยลำดับ นิวคลีโอไทด์อะไรบ้าง การค้นหำตอบนี้ จะต้องมีการวิเคราะห์ DNA ( DNA system ) โดยอาศัยความรู้พื้นฐานในการ แยกโมเลกุลของ DNA ที่มีขนาดและ รูปร่างแตกต่างกันออกจากกันใน สนามไฟฟ้าโดยอาศัยหลักการอิเล็กโทรโฟ ริซิส ( electrophoresis ) ผ่านตัวกลางที่มี ลักษณะคล้ายแผ่นวุ้นที่เรียกว่าเจล ( gel ) เรียกกระบวนการนี้ว่า เจลอิเล็กโทรโฟริ ซิส ( gel electrophoresis )

กระบวนการของเจลอิเล็กโทรโฟริซิสทำได้โดย DNA เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นแผ่นวุ้น เช่น อะกาโรสเจล ( agarose gel ) หรือ พอลิอะคริลาไมด์เจล ( polyacrylamide gel ) ที่อยู่ภายใต้สนามไฟฟ้า โมเลกุล DNA จะเป็นโมเลกุลที่มีประจุลบ ซึ่งเคลื่อนที่เข้าหาขั้วบวกหรือแอโนด ( anode ) โดยโมเลกุล DNA ขนาดใหญ่จะเคลื่อนที่ผ่านได้ช้ากว่าโมเลกุลที่มีขนาดเล็ก เมื่อให้โมเลกุลขนาดต่างๆ แยกในสนามไฟฟ้า เปรียบเทียบกับการเคลื่อนที่ของโมเลกุล DNA ที่ทราบขนาดก็จะทำให้ทราบขนาดของโมเลกุล DNA ที่ทราบขนาดก็จะทำให้ทราบขนาดของโมเลกุล DNA ที่ต้องการศึกษา การเคลื่อนที่ของโมเลกุลที่มีขนาดต่างๆกันนี้ จะทำให้เกิดแถบ ( band ) ซึ่งไมสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจึงต้องไปผ่านกระบวนการย้อมสี

การศึกษาจีโนม นักวิจัยพบว่า จีโนมของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีลำดับนิวคลีไทด์แตกต่างกัน ซึ่งสามารถตรวจสอบความแตกต่างนั้นโดยการเพิ่มปริมาณ DNA ในบิเวณี่มีความแตกต่างกันนั้นด้วยวิธี PCR แล้วนำ DNA ดังกล่าวมาตัดด้วยเอนไซม์ตัดจำเพาะ นำชิ้นส่วน DNA ที่ได้ไปแยกขนาดโดยวิธีเจลอิเล็กโทรโฟริซิส จะได้รูปแบบของแถบ DNA ที่แตกต่างกัน ดังนั้นรูปแบบของแถบ DNA ที่ประกฎหลังจากตัดด้วยเอนไซมตัดจำเพาะจะสามารถเชื่อมโยงไปถึงจีโนมของสิ่งมีชีวิตนั้น รวมทั้งเชื่อมโยงถึงลักษณะบางลักษณะของสิ่งมีชีวิตนั้นได้ เรียกว่า พีซีอาร์ – เรสทริกชันแฟรกเมนท์เลนจท์พอลิมอร์ฟิซึม ( PCR – restriction fragment length polymorphism ; PCR – RFLP )

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ได้มีการริเริ่มโครงการจีโนมมนุษย์ ( Human Genome Project ) ซึ่งได้เป็นโครงการนานาชาติในการศึกษาลำดับนิวคลีโอไทด์ของมนุษย์ทั้งจีโนม โดยทำการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ของออโต้โซมจำนวน 22 โครโมโซม โครโมโซม X และโครโมโซม Y โครงการดังกล่าวนี้มีการศึกษาแผนที่ยีน และ แผนที่เครื่องหมายทางพันธุกรรมควบคู่ไปกับการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ ซึ่งนำมาสู่การพัฒนาในเชิงเทคโนโลยีและการประยุกต์ใช้อย่างมากมายในปัจจุบัน

โครงการศึกษาจีโนมนั้นไม่ได้ทำเฉพาะกับมนุษย์เท่านั้น แต่ยังศึกษาจีโนมของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ที่มีความสำคัญในการศึกษาในเชิงชีววิทยาด้วย เช่น จีโนมของแบคทีเรีย ( Escherichia coli ) จีโนมของยีสต์ ( Saccharomyces cerevisiae ) จีโนมของแมลงหวี่ ( Drosophila melanogaster ) และหนู ( Mus musculus ) สำหรับการศึกษาในพืชนั้น นักวิทยาศาสตร์ได้ร่วมกันศึกษาจีโนมของอะราบิดอพซิส ( Arabidopsis thaliana L. ) ซึ่งถือว่าเป็นพืชต้นแบบในการศึกษาชีววิทยาระดับโมเลกุลของพืช เนื่องจากมีขนาดจีโนมเล็กที่สุด ลำดับนิวคลีโอไทด์ทั้งหมดของจีโนมของ A. thaliana ได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2542

ส่วนข้าว ( Oryza sativa L ปัจจุบันการศึกษาจีโนมของสิ่งมีชีวิตที่สำคัญทำให้นักวิทยาศาสตร์ทราบคำตอบมากมายเกี่ยวกับโครงสร้างของจีโนม การควบคุมการแสดงออกของยีนต่างๆ ที่ส่งลถึงการเจริญเติบโตและพัฒนาตลอดจนวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต สิ่งที่น่าสงสัยก็คือจากลำดับนิวคลีโอไทด์มากมายที่ประกอบขึ้นเป็นจีโนม ส่วนใดเป็นยีนและมีหน้าที่อย่างไร ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ยังคงต้องศึกษาวิจัยต่อไป