บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. เปีย คำนี้ประสมด้วยสระอะไร?
Advertisements

จดหมายกิจธุระ.
เสียงพยัญชนะ นางสมจิตร ภูเต็มเกียรติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนศรีบุณยานนท์

๑ ชุดที่๒ ต่อไป.
๑ ชุดที่๑ ต่อไป.
ระบบ เสียง ในภาษาไทย เสียง เกิดจากลมที่เคลื่อนตัวจากปอดผ่านหลอดลม ลำคอ กล่องเสียง ช่องปาก จมูก เพดาน ลิ้น ฟัน ริมฝีปาก.
CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
นางสาวดวงเดือน สร้อยจิตร สำนักงานเขตบางคอแหลม
POWERPOINT ประกอบการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผู้จัดทำ นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย
เรื่องความรู้ทางภาษา
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
การแจกลูกและการสะกดคำ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ. พะเยา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๓๖ ข้อ
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
ลักษณะของภาษาไทย      ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ จึงเป็นสมบัติของชาติที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ อัจฉริยลักษณะของภาษาไทยมีความโดดเด่นเทียบเท่ากับภาษาสากลได้
ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๓.๓๐ น. – ๑๖.๓๐ น.
พลเอก ผ่านโผน อินทรทัต ประธานอนุกรรมการสรรหาศิษย์เก่าดีเด่น
ผลการสัมมนา กลุ่มที่ ๒ ผู้ร่วมสัมมนา น.ท.บำเพ็ญ ศรีสมบัติ ประธาน ฯ
ข้อบังคับทหาร ว่าด้วยการเคารพ ตอน ๑ ว่าด้วยการเคารพบนรถ
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
มาตรฐานวิชาชีพครู.
กระบวนวิชา TL 214 การพัฒนาทักษะภาษาไทยรายกรณี
สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด
เรื่อง พยัญชนะไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิชาภาษาไทย
กิจกรรม กำหนดการดำเนินงาน ต. ค. ๒๕ ๕๒ พ. ย. ๒๕ ๕๒ ธ. ค. ๒๕ ๕๒ ม. ค. ๒๕ ๕๓ ก. พ. ๒๕ ๕๓ มี. ค. ๒๕ ๕๓ เม. ย. ๒๕ ๕๓ พ. ค. ๒๕ ๕๓ มิ. ย. ๒๕ ๕๓ ก. ค. ๒๕ ๕๓ ส.
วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส เรื่อง...บาลีศึกษาเบื้องต้น
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (8) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ติวแนวข้อสอบภาษาไทย O&A-Net
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

๓. พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ กด
๒.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กก”
ทบทวนบทเรียน ENGLISH CLASS 6.
การอ่าน-การเขียนภาษาไทย
คำควบกล้ำ โดย นางอนงค์นาฏ ลาลุน ครู คศ.1 โรงเรียนบ้านโป่งกลางน้ำ
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
การประชุมผู้ปกครองนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ เรื่อง “กำหนดการสอบและเอกสารการศึกษา”” โดย นางพรรณี จินตมาศ.
พยัญชนะต้น.
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
ภาษาบาลี-ภาษาสันสกฤต
การอ่านเชิงวิเคราะห์
มาตราตัวสะกด สื่อการสอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ผังงาน (FLOW CHART) ผังงาน (Flow Chart)เป็นรูปแบบของการจำลองความคิดแบบหนึ่ง รูปแบบของการจำลองความคิดเพื่อความสะดวกในการทำงาน แบ่ง เป็น ๒ แบบ คือ ๑) แบบข้อความ.
ชั้นอนุบาล1 โรงเรียนบ้านควนไทรงาม
วิชาภาษาไทย เรื่อง สนุกกับพยัญชนะไทย
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ( ภาษาบาลี - ภาษาสันสกฤต )
ตามอาตมาไปอ่านภาษาบาลีกัน
จักรยาน.
แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กน แม่กก แม่กด แม่กบ แม่ ก กา
LI 395 บทที่ 3 หัวข้อการเรียน.
แผนการจัดการเรียนรู้
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ( ฉบับที่ 7) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 พฤศจิกายน 2555.
การออกแบบการเรียนรู้
ก. ไก่ ฝึกอ่านตาม หน้า ถัดไป ผู้จัดทำ sahapreecha.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา นางเพ็ญประภา รัตนเสถียร ครู คศ.๒ โรงเรียนอุดมดรุณี อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย

ความรู้เรื่อง เสียง เสียงในความหมายกว้าง ๆ หมายถึง เสียงต่าง ๆ       เสียงในความหมายกว้าง ๆ หมายถึง เสียงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียงมนุษย์เสียงสัตว์ หรือเสียงอื่นใดก็ตาม แต่ในการศึกษา เสียง หมายถึง เสียงที่มนุษย์เปล่งออกมา เพื่อสื่อความหมายระหว่างมนุษย์ด้วยกัน

เสียงในภาษาไทย เสียงในภาษาไทยแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด ด้วยกัน คือ เสียงสระ เสียงพยัญชนะ เสียงวรรณยุกต์

- เสียงสระ   หรือเสียงแท้ เกิดจากลมที่ออกจากปอดโดยไม่ถูกอวัยวะใดกีดขวาง - เสียงพยัญชนะ หรือเสียงแปร เกิดจากการลมที่ออกจากปอดแล้วถูกปิดกั้นทางเดิน ของลมให้แคบลง ทำให้ลมผ่านไม่สะดวกจนต้องเสียดแทรกออกมา - เสียงวรรณยุกต์ หรือเสียงดนตรี  เกิดจากเสียงเปล่งออกมาพร้อมเสียงแปรจะมีเสียงสูง ต่ำ ตามการสั่นสะเทือนของสายเสียงอวัยวะที่ทำให้เกิดเสียง ได้แก่ ปอด หลอดลม กล่องเสียง ลิ้นไก่ ลิ้น เพดานปุ่มเหงือก ฟัน และ ริมฝีปาก

เสียงสระ       เสียงสระ เมื่อนำรูปสระทั้ง ๒๑ รูป มารวมกัน จะได้สระทั้งหมด ๓๒ เสียง จำแนกเป็น ๓ กลุ่ม ดังนี้ สระแท้ มี ๑๘ เสียง แบ่งออกเป็น สระเสียงสั้น ได้แก่  อะ อิ อึ เอะ เออะ โอะ แอะ เอาะ สระเสียงยาว ได้แก่ อา อี อื อู เอ เออ โอ แอ ออ สระประสม มี ๖ เสียง ได้แก่   เอีย       เกิดจากเสียง          -ี + -า         เอีย เอียะ      เกิดจากเสียง          -ิ  +  -ะ       เอียะ เอือ        เกิดจากเสียง          -ื  +  -า       เอือ เอือะ      เกิดจากเสียง          -ึ  +  -า       เอือะ อัว         เกิดจากเสียง          -ู  + -า        อัว   อัวะ      เกิดจากเสียง          -ุ  +  -ะ       อัวะ

เสียงพยัญชนะ เสียงพยัญชนะ เสียงพยัญชนะ     พยัญชนะ แปลว่า การกระทำเสียงให้ปรากฏชัด หรือเครื่องหมายตัวอักษรที่ใช้แทนภาษาพูด พยัญชนะจะออกเสียงตามลำพังไม่ได้ต้องอาศัยสระ เสียงพยัญชนะในภาษาไทย เสียงพยัญชนะในภาษาไทย มี ๒๑ เสียง (๔๔ รูป) ๑. /ก/  ก ๒. /ค/  ข ค ฆ (ฃ ฅ) ๓. /ง/  ง ๔. /จ/  จ ๕. /ช/  ช ฉ ฌ ๖. /ซ/  ซ ศ ส ษ ๗. /ย/  ญ ย  ๘. /ด/  ด ฎ ๙. /ต/  ต ฏ ๑๐. /ท/  ท ฐ ถ ฑ ฒ ธ ๑๑. /น/  น ณ ๑๒. /บ/  บ ๑๓. /ป/  ป ๑๔. /พ/  ผ พ ภ ๑๕. /ฟ/  ฟ ฝ ๑๖. /ม/  ม ๑๗. /ร/  ร ๑๘. /ล/  ล ฬ ๑๙. /ว/  ว ๒๐. /ฮ/  ฮ ห ๒๑. /อ/  อ     

เสียงวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์           เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงที่เปล่งออกมามีระดับสูงต่ำต่างกัน ทำให้ความหมายต่างกัน ด้วยซึ่งเป็นเสียงที่เกิดกับเสียงสระและเสียงพยัญชนะวรรค วรรณยุกต์ไทย มี ๕ เสียง ๔ รูป คือ เสียง   เสียงสามัญ      เสียงเอก        เสียงโท         เสียงตรี        เสียงจัตวา  รูป       -                       ่                ้                 ๊                ๋         ในบางคำรูปกับเสียงวรรณยุกต์อาจไม่ตรงกัน พยัญชนะต้น สระ และตัวสะกดมีความสำคัญต่อการในวรรณยุกต์ไม่น้อยกว่ารูปวรรณยุกต์ ในการเขียนจึงต้องพิจารณาสิ่งเหล่านี้ด้วย จึงจะใช้วรรณยุกต์ได้ถูกต้อง เช่น โน้ต เชิ้ต เสียงตรีแต่ใช้รูปวรรณยุกต์โทเป็นต้น

แบบฝึกบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา แบบฝึกบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา

ข้อที่ ๑ เสียงในภาษาไทยแบ่งออกเป็น ๓ จำพวก คือ ก. เสียงสูง เสียงกลาง เสียงต่ำ ข. สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ ค. เสียงพูด เสียงอ่าน เสียงเพลง ง. เสียงแท้ เสียงแปร เสียงดนตรี เฉลย ง. เสียงแท้ เสียงแปร เสียงดนตรี

ข้อที่ ๒ อักษรชนิดใดผันด้วยรูปวรรณยุกต์ตรีไม่ได้ ก. อักษรสูงเท่านั้น ข. อักษรต่ำเท่านั้น ค. อักษรกลาง ง. อักษรสูงและอักษรต่ำ เฉลย ง. อักษรสูงและอักษรต่ำ

ข้อที่ ๓ ข้อใดมีเสียง วรรณยุกต์ครบทั้ง ๕ เสียง ก. ประหยัดวันนี้สบายวันหน้า                                ข. สมบัติเมาเซถลาหัวทิ่ม ค. หมึกแดงแผลงฤทธิ์ให้รสอร่อย                          ง. จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้เหมาะความ เฉลย ค. หมึกแดงแผลงฤทธิ์ให้รสอร่อย 

ข้อที่ ๔ ข้อใดที่มีเสียงวรรณยุกต์เหมือน “นกพรากจากรังแล้ว” ก. ช่วยคิดด้วยนะจ๊ะ ข. ยกน้ำมาด้วยนะ ค. ทิดแก้วอยู่เมืองเพชร ง. วิเคราะห์โรคได้นะ เฉลย ค. ทิดแก้วอยู่เมืองเพชร

ข้อที่ ๕ เสียงแปร คือเสียงชนิดใดของเสียงในภาษาไทย ก. เสียงสระ   ก. เสียงสระ   ข. เสียงพยัญชนะ   ค. เสียงวรรณยุกต์   ง. ทั้งสามเสียงรวมกัน เฉลย ข. เสียงพยัญชนะ

แล้วพบกันใหม่ ในบทเรียนต่อไปนะ