การอ้างอิง วณิชากร แก้วกัน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
เหตุผลที่ต้อง อ้างอิง 1. ทำรายงาน / โครงการมีความน่าเชื่อถือทางวิชาการ 2. เป็นการให้เกียรติเจ้าของผลงาน 3. แสดงเจตนาบริสุทธิ์ว่าไม่ได้คัดลอกคือขโมยผลงานของผู้อื่น 4. ป้องกันการถูกฟ้องร้องจากเจ้าของผลงาน
การนำข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มา อ้างอิง 1. การนำข้อมูลมาอ้างอิงโดยไม่มีการ ปรับเปลี่ยนข้อความ 1.1 นำข้อมูลมาอ้างอิงไม่เกิน 4 บรรทัด วิธี พิมพ์ข้อความต่อเนื่องกันและ ใช้เครื่องหมาย “ ” 1.2 นำข้อมูลมาอ้างอิงเกิน 4 บรรทัด วิธี พิมพ์ข้อความแยกให้เห็นเด่นชัด จากข้อความอื่น โดยขึ้นบรรดใหม่ ห่างจาก บรรทัดบน 1 บรรทัด ใช้ขนาดตัวอักษร 14 พอยต์ และให้ย่อหน้าเข้ามาอีก 1 Tab
ตัวอย่างการนำข้อมูลมาอ้างอิงเกิน 4 บรรทัด โดยไม่มีการปรับเปลี่ยนข้อความ เนื้อความตอนหนึ่งจากบทความเฉลิมพระเกียรติเรื่อง พระ มหาชนก : พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ความงดงามแห่ง วรรณกรรมสยามความงดงามแห่งพระราชหฤทัยของจิรวัฒน์ พิระ สันต์ และวนิดา บำรุงไทย (2542, 11) ได้กล่าวถึงบทบาทของพระ มหาชนกโดยเปรียบเทียบกับพระราชกรณียกิจและพระราชวิริยะแห่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ว่า บทบาทพระราชวิริยะของพระมหาชนกได้สะท้อนให้เห็น ประจักษ์ใพระราชปณิธาน และ พระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ ทรงเฝ้าทุ่มทอดพระองค์เข้าสู่ มหายุทธการแห่งการพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขของ ป วง ประชาราษฎรเป็นเวลายาวนานใน ท่ามกลางกระแสแห่งอวิชชาซึ่งดูประหนึ่งจะถาโถมเข้ามามิรู้สิ้นสุด …
การนำข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มา อ้างอิง 2. การนำข้อมูลมาอ้างอิงโดยมีการ ปรับเปลี่ยนข้อความ ( อาจสรุป ถอดความ ปรับเป็นสำนวน ของตน ) วิธี พิมพ์ในรูปแบบปกติ ไม่ต้องย่อหน้า และไม่ต้องใช้ เครื่องหมาย “...” แต่ต้องอ้างอิง แหล่งที่มา
ระบบการอ้างอิงที่มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์นใช้ “ ระบบ APA” ของ สมาคมจิตวิทยาอเมริกัน (American Psychological Association)
ประเภทของการอ้างอิง 1. การอ้างอิงในส่วนเนื้อเรื่อง (In-text Citation) ( นาม - ปี ) ระบุแหล่งที่มาของข้อมูล : ผู้แต่ง ปีที่ พิมพ์ และเลขหน้า 2. การอ้างอิงในส่วนท้ายเล่ม (Reference) - รวบรวมรายการอ้างอิงในส่วนเนื้อ เรื่องมาจัดพิมพ์ เรียงลำดับอักษรของชื่อผู้แต่ง โดย ระบุที่มาของ แหล่งข้อมูลอย่างละเอียด นำการอ้างอิงในส่วนเนื้อเรื่อง ทุกรายการมาพิมพ์ บรรณานุกรม
ตัด ชื่อคำหน้าชื่อ ( เช่น นาย / นางสาว ) ตัด ตำแหน่งทางวิชาการ ( เช่น ผศ. รศ.) ยศ ( เช่น พล. อ.) คง บรรดาศักดิ์ ( เช่น มรว. คุณหญิง ) ชาวต่างชาติ ให้พิมพ์เฉพาะชื่อสกุล หลักเกณฑ์การลงผู้แต่ง ในการ อ้างอิงในเนื้อหา ( ระบบนาม – ปี )
หลักเกณฑ์การลงปีที่พิมพ์ ใน การอ้างอิงในเนื้อหา ( ระบบนาม – ปี ) พ. ศ. ค.ศ.ค.ศ. ตัด ม.ป.ป.ม.ป.ป. n.d. ไม่ ทรา บปี
ตัด ชื่อคำหน้าชื่อ ( เช่น นาย / นางสาว ) ตัด ตำแหน่งทางวิชาการ ( เช่น ผศ. รศ.) ยศ ( เช่น พล. อ.) กลับ บรรดาศักดิ์ ( เช่น มรว. คุณหญิง ) เช่น แม้นมาศ ชวลิต, คุณหญิงชาวต่างชาติ พิมพ์ชื่อสกุล, อักษรย่อชื่อต้น อักษรย่อชื่อกลาง ( ถ้ามี ) เช่น Gibson, E. J. หน่วยงาน ให้ลงชื่อหน่วยงานใหญ่ ตามด้วย หน่วยงานรองเช่น กระทรวงศึกษาธิการ. กรมการศึกษนอกโรงเรียน. หลักเกณฑ์การพิมพ์ชื่อผู้แต่ง ในบรรณานุกรม
หลักเกณฑ์การพิมพ์สถานที่ พิมพ์ในบรรณานุกรม ระบุ พิมพ์ชื่อเมืองที่พิมพ์ หนังสือ ไม่ ทราบ สถานที่ พิมพ์ ม. ป. ท. n.p.
หลักเกณฑ์การพิมพ์สำนักพิมพ์ ในบรรณานุกรม ใช้ตัวย่อ ม. ป. พ. n.p. ไม่ทราบ สำนักพิมพ์ ตัดคำว่า สำนักพิมพ์ ห้าง หุ้นส่วน ออก สำนักพิมพ์ ล งชื่อโรง พิมพ์ เช่น โรงพิมพ์ คุรุสภา โรง พิมพ์