วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม Behavioral Objective
แบ่ง วัตถุประสงค์ เป็น 4 ระดับ Jenkin & Dino (1973) แบ่ง วัตถุประสงค์ เป็น 4 ระดับ A B C D
B : แคบกว่าระดับ A ขั้นมีความรู้ความเข้าใจ
C : แคบกว่าระดับ B เป็นขึ้นจำเพาะเจาะจง พิสูจน์ว่า / ระบุว่า ให้คำนิยาม / อธิบาย / แก้ปัญหา แยกประเภท / ประเมิน / พยากรณ์ เข้าใจ
D : สามารถแปลความหมายจากระดับ C ชี้ / เขียน / บอก ทำเครื่องหมาย แขียนวงกลมล้อมรอบ ระบุ
รูปแบบของจุดประสงค์ นิยมใช้ 4 รูปแบบ Mager (1962) IDI (1972) Kibler และ คณะ (1972) Gagne&Briggs (1974)
Mager กำหนด Action “การกระทำ” 1 Relevance Condition “เงื่อนไข” 2 สามารถ / อธิบาย / เขียน ฯลฯ Relevance Condition “เงื่อนไข” 2 สัมพันธ์กับการกระทำของผู้เรียน Performance Standard 3 เกณฑ์
IDI (Instructional Development Institute) B C D Audience Behavioral Condition Degree กลุ่มเป้าหมาย พฤติกรรม เงื่อนไข เกณฑ์
Who Actual Behavier Result Relevance conditions Standard Kibler และ คณะ ตัวอย่าง “เมื่อกำหนดจุดประสงค์ 3 ข้อ นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ จุดประสงค์เหล่านั้น ออกเป็นส่วนประกอบต่าง ๆ 5 ส่วนได้อย่างถูกต้อง โดยเอารูปแบบของ Kiblerและคณะเป็นเกณฑ์ ในการวิเคราะห์ Who Actual Behavier Result Relevance conditions Standard
1. สถานการณ์ณ์ (Situation) Gagne’ & Briggs (1974) 1. สถานการณ์ณ์ (Situation) ในสิ่งแวดล้อมอะไร? และจะมีการทดสอบชนิดไหน? 2. สมรรถภาพของการเรียนรู้ (Learned Capability Situation) ในสิ่งแวดล้อมอะไร? และจะมีการทดสอบชนิดไหน?
3. สิ่งที่ทำได้ (Object) Gagne’ & Briggs (1974) 3. สิ่งที่ทำได้ (Object) ผู้เรียนทำอะไรออกมาได้บ้าง หรือผลผลิตจากสมรรถภาพคืออะไร 4. การกระทำ (Action) ผู้เรียนมีการกระทำออกมาให้ผู้อื่นเห็น หรือ สังเกตได้อย่างไร
Gagne’ & Briggs (1974) 5. เครื่องมือ ข้อบังคับและเงื่อนไขพิเศษ (Tools, Constraints and Special Conditions) ใช้เครื่องมืออะไรบ้าง มีการกำหนดข้อบังคับ หรือ กฎเกณฑ์อะไรบ้างและอยู่ภายใต้เงื่อนไขอะไร?
Cognitive Domain Knowledge Comprehension Application Analysis พฤติกรรม คำกิริยาที่ใช้ Knowledge บอกรายการ/ยกรายการ/จัดประเภท/ เรียงลำดับ ฯลฯ Comprehension แปลความ / ตีความ / อธิบาย / อภิปราย ฯลฯ Application เลือกใช้ / สาธิต / คำนวณ / ปรับปรุง ฯลฯ Analysis วิเคราะห์ / วิจารณ์ / คัดเลือก / ให้เหตุผล ฯลฯ Synthesis พิสูจน์ / วางแผน / ออกแบบ / จัดเข้าพวก ฯลฯ Evaluation ประเมิน / ตัดสิน / เปรียบเทียบ ฯลฯ
ตัวอย่าง A B C D นักเรียนชั้น ปวช.3 ที่เรียนวิชาเครื่องล่างรถยนต์ สามารถบอกส่วนประกอบของเครื่องล่างได้ C เมื่อครูแสดงอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ดู 12 ชนิด D จะต้องบอกได้ถูกต้อง 10 ชนิด
Affective Domain การรับรู้ การตอบสนอง การสร้างคุณค่า การจัดระบบ พฤติกรรม คำกิริยาที่ใช้ การรับรู้ บาม / เลือก/ บรรยาย /ชี้บ่ง / ยอมรับ ฯลฯ การตอบสนอง แนยอม / ทำตาม / ตอบ / ช่วยเหลือ / ร่วมมือ ฯลฯ การสร้างคุณค่า สาธิต / ชี้แจง / ติดตาม / เชื้อเชิญ / สนับสนุน ฯลฯ การจัดระบบ วัดแจง/ ปรับปรุง/ ประสาน/ ป้อนกัน/ วางหลักเกณฑ์ ฯลฯ การสร้างลักษณะ พาสาสมัคร / พยายาม / เปลี่ยนแปลง / แก้ไข ฯลฯ
ตัวอย่าง A นักเรียนชั้น ปวส.1 ที่เริ่มเรียนการเสื่อมโทรมของธรรมชาติ B ตระหนักถึงสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมลงไป C ครูแจกขนมที่ห่อกระดาษหลายชนิด และนักเรียนไม่ทราบว่าการทิ้งห่อกระดาษนั้นได้ถูกสังเกตุ D เกณฑ์จะพิจารณาจากการทิ้งห่อกระดาษขนมเหล่านั้นว่านักเรียนส่วนใหญ่จะทิ้งห่อกระดาษลงใจถังขยะที่ทางโรงเรียนจัดไว้ให้เท่านั้น
Psychomotor Domain 1. การเบียนแบบ 2. การทำตามแบบ 3. การหาความถูกต้อง พฤติกรรม คำกิริยาที่ใช้ 1. การเบียนแบบ ประกอบ / ต่อ / แต่ง เปลี่ยน / ประดิษฐ์ เขียน / พูด 2. การทำตามแบบ 3. การหาความถูกต้อง 4. การทำอย่างธรรมชาติ