นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4 นายแพทย์ สมชัย นิจพานิช ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต 4

สถานการณ์และสภาพปัญหา   สถานการณ์และสภาพปัญหา อำเภอเป็นจุดเชื่อมโยงการดำเนินงาน การ บริหารทรัพยากรจากส่วนภูมิภาค สู่ส่วน ท้องถิ่น และชุมชน มีการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพอยู่แล้ว แต่ขาดการเชื่อมโยงภาพเชิงระบบ และมี ความเข้มแข็งแตกต่างกัน ในแต่ละพื้นที่

แนวทางการแก้ปัญหา 1 สร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางและการดำเนินการร่วมกันระหว่างสสจ. / สคร. / อปท. และหน่วยงานหลัก ที่เกี่ยวข้องในระดับส่วนกลาง ภูมิภาค ท้องถิ่น และชุมชน 2 การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือของจังหวัดในการกระตุ้น ผลักดัน ส่งเสริม ให้หน่วยงานระดับอำเภอมีการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นระบบส่งผลลัพธ์ และผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์

อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1 เพื่อพัฒนากลไกและแนวทางสนับสนุนการดำเนินงานระหว่าง สสจ./สคร./อปท. และหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง ในระดับส่วนกลาง ภูมิภาค ท้องถิ่น และชุมชน 2 เพื่อพัฒนาระบบการสื่อสาร ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน บรรลุตามเป้าหมาย

เป็น “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ ยั่งยืน” ตามคุณลักษณะที่กำหนด ผลลัพธ์ที่ต้องการ ร้อยละ 50 ของอำเภอ เป็น “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบ ยั่งยืน” ตามคุณลักษณะที่กำหนด

นิยาม ; อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 1 อำเภอ หมายถึง กลุ่มบุคคลหรือองค์กรที่มีการดำเนินงานตามคุณลักษณะที่กำหนดฯ ในแต่ละด้านในระดับอำเภอ 2 คุณลักษณะที่กำหนด หมายถึง อำเภอ ที่มีการควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน เฉพาะปี 2554 ตามเกณฑ์แบบประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 3 อำเภอที่มีการดำเนินการป้องกันควบคุมโรค ได้คะแนนรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (ได้คะแนนตั้งแต่ 40 คะแนนขึ้นไปตามคุณลักษณะที่กำหนด)

เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ข้อ คุณลักษณะ คะแนน 1 มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 10 2 มีระบบระบาดวิทยาในระดับอำเภอที่ดี 20 3 มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 4 มีการระดมทุนหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม 5 ผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและเป็นปัญหาในพื้นที่อย่างน้อย ประเด็นละ 1 เรื่อง

การรายงาน คณะกรรมการสุขภาพระดับอำเภอ หรือ สสอ. ประเมินผลตามแบบประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รวบรวบแบบประเมิน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี

จำนวนอำเภอทั้งหมดของจังหวัด อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนอำเภอทั้งหมดของจังหวัด การประมวลผลตัวชี้วัด สูตรคำนวณ จำนวนอำเภอที่ผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด x 100

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 40 45 50 55 60

Thank you for your attention