ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ระบบเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดจังหวัดราชบุรี โดยฝ่ายอำนวยการ ศตส.จ.รบ.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานแต่ละระดับ ในการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”

ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี ผู้รับผิดชอบหลัก ; ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี 1 สื่อสาร ชี้แจงนโยบายและแนวทางการพัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน” ให้กับจังหวัด 2 วิเคราะห์ความต้องการและสนับสนุนวิชาการ วิทยากร ให้แก่จังหวัด อำเภอ ตำบลในเขตฯ 4,5 3 เป็นที่ปรึกษา นิเทศ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานของจังหวัด อำเภอ และตำบลในเขตฯ 4,5 4 รายงานผลการดำเนินงาน ผลการประเมินฯ เพื่อ1ประกวด ยกย่อง เชิดชู ส่งให้กรมควบคุมโรค

ตัวชี้วัด ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี เกณฑ์ 1 ร้อยละ ของจังหวัดมีระบบบริหารจัดการและสนับสนุนมาตรฐานที่กำหนด เพื่อพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 100 2 ร้อยละ ของอำเภอที่เป็น “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ตามคุณลักษณะที่กำหนด 50 3 ร้อยละของจังหวัดที่มี “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ตามคุณลักษณะที่กำหนดอย่างน้อย 1 อำเภอ

ระดับจังหวัด : สำนักงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ผู้รับผิดชอบหลัก ; เจ้าหน้าที่กลุ่มระบาดวิทยาประจำจังหวัดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย 1 สื่อสาร ชี้แจงนโยบายและแนวปฏิบัติ“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน” ให้กับหน่วยงานภายใต้สังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 พัฒนากลไกและระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนอำเภอควบคุมโรคเข้มแข้งแบบยั่งยืน 3 จัดอบรม SRRT ระดับตำบลในพื้นที่

ระดับจังหวัด : สำนักงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (ต่อ) ผู้รับผิดชอบหลัก ; เจ้าหน้าที่กลุ่มระบาดวิทยาประจำจังหวัดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย 4 เป็นพี่เลี้ยงแก่เครือข่ายระดับอำเภอและตำบล ให้มีกิจกรรมเฝ้าระวังเหตุการณ์ (Event based surveillance) อย่างต่อเนื่อง 5 เป็นที่ปรึกษา นิเทศติดตามผลการดำเนินงานของทีม SRRT ระดับตำบล และการดำเนินงานพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนของอำเภอ 6 รวบนวมและวิเคราะห์ผลการประเมินตนเอง ของอำเภอ รายงานผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดให้ สคร. 4

ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เกณฑ์ 1 ร้อยละของอำเภอที่เป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ตามคุณลักษณะที่กำหนด 50 2 เครือข่ายระดับตำบล ได้รับการอบรม 90 3 รพ.สต. ที่ผ่านการอบรมได้รับแจ้งและตรวจสอบเหตุการณ์ผิดปกติ เดือนละ 1 เหตุการณ์ 4 รพ.สต. ที่ผ่านการอบรม ประสานและร่วมการสอบสวนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

ระดับอำเภอ ผู้รับผิดชอบหลัก ; ผู้แทน รพช. / สสอ. ที่ผ่านการอบรมวิทยากรครูพี่เลี้ยง 1 ร่วมจัดอบรม ถ่ายทอดความรู้แก่ทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบล 2 เป็นพี่เลี้ยงแก่เครือข่ายระดับตำบล ให้มีกิจกรรมเฝ้าระวังเหตุการณ์ (Event based surveillance) อย่างต่อเนื่อง 3 พัฒนาทีม SRRT อำเภอของตนเองให้ได้มาตรฐาน

ระดับอำเภอ (ต่อ) ผู้รับผิดชอบหลัก ; ผู้แทน รพช. / สสอ. ที่ผ่านการอบรมวิทยากรครูพี่เลี้ยง 4 มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ดำเนินงาน SRRT เครือข่ายระดับตำบลในพื้นที่ 5 นิเทศ ติดตามเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่ที่ผ่านการอบรม 6 ดำเนินการตามคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งอย่างยั่งยืน

ระดับตำบล ผู้รับผิดชอบหลัก ; เจ้าหน้าที่ รพ.สต. หรือ สอ. ที่ผ่านการอบรม SRRT ระดับตำบล 1 บันทึกข้อมูลบุคลากรในทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบล ที่ผ่านการอบรมฯ ลงในโปรแกรมสำเร็จรูปของสำนักระบาดวิทยา 2 รับแจ้งข่าวและบันทึกการแจ้งข่าวจาก อสม.อปท. ประชาชน ฯลฯ ลงในสมุดรับแจ้งข่าว 3 บันทึกข้อมูลเหตุการณ์จากการรับแจ้งข่าวในสมุดทะเบียน ลงในโปรแกรมสำเร็จรูปของสำนักระบาดวิทยาอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ระดับตำบล (ต่อ) ผู้รับผิดชอบหลัก ; เจ้าหน้าที่ รพ.สต. หรือ สอ. ที่ผ่านการอบรม SRRT ระดับตำบล 4 มีแจ้งข่าวหรือเหตุการณ์ผิดปกติให้แก่ทีม SRRT ระดับอำเภออย่างน้อย 2 ครั้งต่อเดือน 5 ร่วมสอบสวนโรคหรือเหตุการณ์ผิดปกติกับทีม SRRT ระดับอำเภอ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

Thank you for your attention